ข้ามไปเนื้อหา

การอพยพสู่สหรัฐอเมริกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การอพยพสู่สหรัฐอเมริกา เป็นการอพยพของประชากรจากประเทศอื่นเข้าสู่สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ว่าจำนวนผู้อพยพเข้าสู่สหรัฐอเมริกาจะไม่เคยมีเกิน 16% ของประชากรทั้งหมด นับตั้งแต่ พ.ศ. 2218 แต่การอพยพสู่สหรัฐอเมริกาก็เป็นสาเหตุหลักในการเพิ่มจำนวนของประชากร และทำให้เกิดวัฒนธรรมที่หลากหลายขึ้นในสหรัฐอเมริกา

จำนวนผู้อพยพจำแนกตามรัฐ

[แก้]

เปอร์เซ็นต์การเพิ่มของจำนวนผู้ที่มีสัญชาติโดยกำเนิดเป็นชาติอื่นในรัฐต่าง ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2543[1]

รัฐนอร์ทแคโรไลนา 273.7% รัฐเซาท์แคโรไลนา 132.1% รัฐมิสซิสซิปปี 95.8% รัฐวิสคอนซิน 59.4% รัฐเวอร์มอนต์ 32.5%
รัฐจอร์เจีย 233.4% รัฐมินนิโซตา 130.4% รัฐวอชิงตัน 90.7% รัฐนิวเจอร์ซีย์ 52.7% รัฐคอนเนตทิคัต 32.4%
รัฐเนวาดา 202.0% รัฐไอดาโฮ 121.7% รัฐเท็กซัส 90.2% รัฐอะแลสกา 49.8% รัฐนิวแฮมป์เชียร์ 31.5%
รัฐอาร์คันซอ 196.3% รัฐแคนซัส 114.4% รัฐนิวเม็กซิโก 85.8% รัฐมิชิแกน 47.3% รัฐโอไฮโอ 30.7%
รัฐยูทาห์ 170.8% รัฐไอโอวา 110.3% รัฐเวอร์จิเนีย 82.9% รัฐไวโอมิง 46.5% รัฐฮาวาย 30.4%
รัฐเทนเนสซี 169.0% รัฐออริกอน 108.0% รัฐมิสซูรี 80.8% รัฐเพนซิลเวเนีย 37.6% รัฐนอร์ทแคโรไลนา 29.0%
รัฐเนแบรสกา 164.7% รัฐแอละแบมา 101.6% รัฐเซาท์ดาโคตา 74.6% รัฐแคลิฟอร์เนีย 37.2% รัฐโรดไอแลนด์ 25.4%
รัฐโคโลราโด 159.7% รัฐเดลาแวร์ 101.6% รัฐแมริแลนด์ 65.3% รัฐนิวยอร์ก 35.6% รัฐเวอร์จิเนียตะวันตก 23.4%
รัฐแอริโซนา 135.9% รัฐโอคลาโฮมา 101.2% รัฐฟลอริดา 60.6% รัฐแมสซาชูเซตส์ 34.7% รัฐมอนแทนา 19.0%
รัฐเคนทักกี 135.3% รัฐอินดีแอนา 97.9% รัฐอิลลินอยส์ 60.6% รัฐลุยเซียนา 32.6% รัฐเมน 1.1%

อ้างอิง

[แก้]