ข้ามไปเนื้อหา

การบริหารความถี่วิทยุ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การบริหารความถี่วิทยุ หรือ การบริหารคลื่นความถี่ (อังกฤษ: Spectrum Management) หมายถึง การบริหารจัดการและการกำกับดูแลการใช้ความถี่วิทยุซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาคม หรือประเทศชาติ โดยต้องให้มีความสมดุลของการกำกับดูแล การแข่งขันโดยเสรี และการแปรรูปจากกิจการของรัฐไปเป็นเอกชน (privatisation) การบริหารความถี่วิทยุ จึงต้องอาศัยหลักวิศวกรรมศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ในการบริหารจัดการ[1][2]

ในระดับประเทศ การบริหารความถี่วิทยุเป็นหน้าที่ของรัฐ และมักมีขอบข่าย ดังนี้[3]

  • การวางแผนการกำหนดความถี่วิทยุ (Allocation)
  • การจัดทำแผนช่องความถี่วิทยุ (Allotment)
  • การจัดสรรความถี่วิทยุ (Assignment)
  • การอนุญาตให้ใช้ความถี่วิทยุ (Licensing)
  • การกำหนดและการบังคับใช้กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

การกำหนดความถี่วิทยุ หมายถึง การตัดสินใจที่จะใช้ย่านความถี่ (frequency band) หนึ่งๆ ส่วนการจัดสรรความถี่วิทยุ หมายถึง การตัดสินใจว่าองค์กรใดสามารถจะใช้ส่วนใดของย่านความถี่ใดเพื่อวัตถุประสงค์ใด (ดูประเภทกิจการโทรคมนาคม) [4]

การบริหารความถี่วิทยุระหว่างประเทศ

[แก้]


การบริหารความถี่วิทยุของชาติ

[แก้]


ตัวอย่างองค์กรบริหารความถี่ของชาติ

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Cave, M (2007). Essentials of modern spectrum management. Cambridge University Press. pp. 15–16. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  2. Withers, Dadvid J. (1999). Radio spectrum management - management of the spectrum and regulation of radio services. The Institution of Engineering and Technology. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |pag= ถูกละเว้น (help)
  3. Withers, Dadvid J. (1999). Radio spectrum management - management of the spectrum and regulation of radio services. The Institution of Engineering and Technology. pp. 3–8.
  4. Cave, M (2007). Essentials of modern spectrum management. Cambridge University Press. p. 4. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)