ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Yingsupatta

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประวัติส่วนตัว[แก้]

ชื่อ : นางสาว สุพพัตรา บุตรสามาลี
Miss : Supatta Busamalee ชื่อเล่น :หญิง ying
อายุ : 23 ปี
วัน/เดือน/ปีเกิด : จันทร์ ที่ 2 เดือน พฤษาจิกายน พ.ศ. 2535
ที่อยู่ 41 ม.5 ตำบล โนนทอง อำเภอ แวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น 40330
ประวัติการศึกษา :
ศึกษาที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน สาขา ระบบสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจ

บทความเกี่ยวกับไอที[แก้]

Websocket การสือสารระหว่าง Web server กับ Client แบบ Real Time
Web Socket สำหรับคนที่เคยเขียนโปรแกรมแบบ Client-Server นั้น จะค่อนข้างคุ้นเคยกับคำว่า Server Socket ซึ่งเป็นการเปิด port ที่ Server เป็น TCP ซึ่ง client ก็ติดต่อโดยอ้างถึง ip ของ Server และ Port และทำการเชื่อมการติดต่อเพิ่มเริ่มส่งข้อมูล

Web Socket ถ้าจะอธิบายให้สั้นๆ และได้ใจความ Websocket เป็นเทคโนโลยีเพื่อใช้ การติดต่อสือสารระหว่าง Web server กับ Client แบบ Real Time Client ที่เป็น html5 + Javascript สามารถรับข้อมูลทางผั่ง Server มาแสดงผลได้ ผ่าน Protocol TCP/IP โดยไม่ต้อง Refresh หน้า เช่นเดียวกับ Ajax แต่ Websocket นั้นมีข้อดีกว่า Ajax คือ Websocket ไม่ต้องส่ง Request ใหม่ เพื่อส่งคำรองขอไปยัง server และ รอรับ respond จากทางฝั่ง Server ทำให้ Websocket ประหยัดทั้งเวลา และปริมาณข้อมูลที่ส่งไปมาระหว่าง web server กับ Client โดยการทำงานของ Websocket มันจะรอรับ Message ทางฝั่ง web server อยู่ตลอดเวลา หลังจากที่ได้ส่งคำสั่ง ติดต่อ Websocket Server ไปแล้วในครั้งแรก และมันจะรอรับ Message จนกระทั้งจะสั่ง Close หรือหยุดการติดต่อ

ตัวอย่างโค้ด

var socket = new WebSocket(ws://websockets.org:8787/echo); socket.onopen = function(evt) { console.log("Socket opened");}; socket.onclose = function(evt) {console.log("Socket closed");}; socket.onmessage = function(evt){console.log(evt.data);}; socket.onerror = function(evt) {console.log("Error: "+evt.data);}; socket.send("Hello World!");

จากโค้ดเป็นการสร้าง WebSocket เพื่อไว้สำหรับคุยกับ echo server และมีการกำหนด callback function เมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ เช่น opened, closed, receive a message, หรือแม้กระทั่งเมื่อเกิด error ขึ้น จากนั้นเราก็ส่งค่า Hello World! ไปยัง server และให้ browser แสดงคำว่า Hello World จากการรับค่ากลับจาก server ครับ

ซึ่ง Server ของ WebSocket หากลองค้นหาดูแล้ว จะพบว่ามีการ implement เป็นหลายภาษาอย่างแพร่หลายแล้วครับ หาหยิบจับมาใช้ได้เช่น

ตัวอย่างโค้ด HTML + Websocket

<!DOCTYPE html>

<meta charset="utf-8" />

<title>WebSocket Test By Mindphp.com</title>

<script language="javascript" type="text/javascript">

 var wsUri = "ws://echo.websocket.org/";
 var output;
 function init()
 {
   output = document.getElementById("output");
   testWebSocket();
 }
 function testWebSocket()
 {
   websocket = new WebSocket(wsUri);
   websocket.onopen = function(evt) { onOpen(evt) };
   websocket.onclose = function(evt) { onClose(evt) };
   websocket.onmessage = function(evt) { onMessage(evt) };
   websocket.onerror = function(evt) { onError(evt) };
 }
 function onOpen(evt)
 {
   writeToScreen("CONNECTED");
   doSend("WebSocket rocks");
 }
 function onClose(evt)
 {
   writeToScreen("DISCONNECTED");
 }
 function onMessage(evt)
 {
     alert(evt);
   writeToScreen('RESPONSE: ' + evt.data+'');
   websocket.close();
 }
 function onError(evt)
 {
   writeToScreen('ERROR: ' + evt.data);
 }
 function doSend(message)
 {
   writeToScreen("SENT: " + message); 
   websocket.send(message);
 }
 function writeToScreen(message)
 {
   var pre = document.createElement("p");
   pre.style.wordWrap = "break-word";
   pre.innerHTML = message;
   output.appendChild(pre);
 }
 window.addEventListener("load", init, false);

</script>
เทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต


รูป คอมพิวเตอร์ข้อมือแห่งอนาคต Sony Nextep คอมพิวเตอร์แห่งปี 2020
คอมพิวเตอร์ข้อมือแห่งอนาคต Sony Nextep คอมพิวเตอร์แห่งปี 2020 คอมพิวเตอร์ข้อมือแห่งอนาคต ปี2020 เตรียมเสียเงินกันอีกแล้วสำหรับคอ ไอที
ทั้งหลายเมื่อ Sony ได้คิดค้นคอมพิวเตอร์ แห่งอนาคต Sony Nextep Computer มีลักษณะเป็น คอมพิวเตอร์ข้อมือ มีคอมพิวเตอร์
เป็นโครงสร้างที่ยืดหยุ่นด้วยหน้าจอ OLED Touchscreen มีเทคโนโลยี Holographic Projector, Pull-Out Extra Keyboard
และที่สำคัญมันจะอยู่บนข้อมือของคุณด้วย เจ๋งไหมละคราวนี้ก็ไม่ต้องแบก โน้ตบุ๊ค ให้เมื่อยกันอีกแล้ว

LAN[แก้]

Network Topology (โครงสร้างของเครือข่าย )
โครงสร้างของเครือข่ายหรือภาษาทางเทคนิคเรียกว่า “Topology” คือลักษณะการเชื่อต่อทางกายภาพระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่าย
ซึ่งหากจะแบ่งประเภทของโครงสร้างเครือข่ายกันจริง ๆ ตามหลักวิชาการที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยก่อน ๆ นั้น ก็สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 แบบคือ
1. โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Network)
2. โครงสร้างแบบบัส ( Bus Network)
3. โครงสร้างแบบริง ( Ring Network)
4. โครงสร้างแบบเมช (Mesh Topology)
โครงสร้างแบบสตาร์ ( Star Network)
ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์จะคล้าย ๆ กับดาวกระจาย ดังรูปที่ได้แสดงไว้ คือมีอุปกรณ์ประเภท Hub หรือ Switch เป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อแบบนี้มีประโยชน์คือ
เวลาที่มีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลต่อการทำงานของระบบโดยรวมแต่อย่างใด นอกจากนี้หากต้องการเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าไปในเครือข่ายก็สามารถทำได้ทันทีโดย
ไม่ต้องหยุดการทำงานของเครือข่ายก่อน การต่อแบบสตาร์นี้เป็นแบบที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากราคาอุปกรณ์ที่มาใช้เป็นศูนย์กลางอย่าง Hub หรือ Switch ลดลงมากในขณะที่ประสิทธิภาพหรือ
ความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนปัจจุบันได้ความเร็วถึงระดับของกิกาบิต ( 1,000 Mbps) แล้ว

โครงสร้างแบบบัส ( Bus Network)
ครือข่ายแบบบัส (bus topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ
ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน การเซตอัปเครื่องเครือข่ายแบบบัสนี้ทำได้ไม่ยากเพราะ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวโดยส่วนใหญ่เครือข่ายแบบบัส มักจะใช้ในเครือข่ายขนาดเล็ก ซึ่งอยู่ในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ใช้ไม่มากนัก

โครงสร้างแบบริง ( Ring Network)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว(Star Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ที่เป็น จุดศูนย์กลาง ของเครือข่าย โดยการนำสถานีต่าง ๆ
มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลางการติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วนสลับสายกลางการทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงเป็นศูนย์กลางของการติดต่อ
วงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน ข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทำได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ
ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทำงาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย ข้อจำกัด ถ้าฮับเสียหายจะทำให้ทั้งระบบต้องหยุดซะงัก และมีความสิ้นเปลืองสาย
สัญญาณมากกว่าแบบอื่นๆ

โครงสร้างแบบเมช (Mesh Topology)
MESH เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย
คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนัก

WAN[แก้]

ความแตกต่างระหว่าง Circuit switching และ

Circuit switching
Circuit switching เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก
ตัวอย่างง่าย ๆ เช่นการติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง(ปลดวงจร)

Packet switching Packet switching เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม(Packet)แต่ละกลุ่มจะมีความยาวเท่ากัน(ปกติ 100บิต)ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เองโดยที่สายหนึ่งๆจะสามารถใช้กันได้หลายคน
เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับ ไปรวมกันเอง

หลักการทำงาน

Circuit switching
1) เมื่อสถานีA ต้องการส่งข้อมูลให้กับ สถานีB จะต้องมีการสร้างเส้นทางเสียก่อน
โดยที่ฝั่งที่รับข้อมูลจะต้องตอบว่าพร้อมรับข่าวสาร (Establishment/ Connection)
2) เมื่อสร้างเส้นทางการส่งข้อมูลเรียบร้อย ตลอดเวลาของการสื่อสารจะใช้เส้นทางเดิมตลอด
และไม่มีบุคคลอื่นมาใช้เส้นทาง
3) มีอัตราความเร็วในการส่งเท่ากันทั้งด้านรับและด้านส่ง
4) มีการทำ Error Control และ Flow Control ทุกๆ ชุมสาย
5) ในขณะทำการส่งข้อมูล ข้อมูลจะถูกส่งด้วยความเร็วคงที่ และไม่มีการหน่วงเวลา(Delay)
6) เมื่อส่งข้อมูลเสร็จจะยกเลิกเส้นทางที่ได้เชื่อมต่อขึ้นมาเพื่อให้เครื่องอื่นได้ใช้เส้นทางได้

Packet switching
1) เมื่อ สถานี A ต้องการส่งข้อมูลให้กับสถานีB จะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็น Packet ย่อยก่อนจะถูก ส่งออกไป
2) ส่งข้อมูลโดยใช้ชุมสาย PSE (Packet switching exchange) ควบคุมการรับส่ง
3) ทำ Error control หรือ Flow Control ที่ PSE
4) ด้านรับและด้านส่งมีอัตราความเร็วที่ไม่เท่ากันได้
5) ใช้เทคนิค Store - and - Forward ในการส่งข้อมูล ผ่าน PSE

การทำงานของ Switch

หลักการทำงานของ Switching
Switch มีหน้าที่ในการส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง โดยมีหลักการทำงานดังนี้ เมื่อคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อกับ Switch ใน Port ที่ 1 ต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ใดๆ ในเครือข่ายแล้วนั้น
คอมพิวเตอร์ตัวแรกก็จะสร้าง Frame ของข้อมูลขึ้นมาโดยจะประกอบด้วย MAC Address, IP Address ของตัวมันเอง ซึ่งเป็นผู้ส่งและ IP Address ของปลายทางคือคอมพิวเตอร์ที่
ต้องการติดต่อ แต่จะยังไม่มี MAC Address ของคอมพิวเตอร์ปลายทาง นำมาประกอบกันเป็น Frame ต่อจากนั้นจะใช้ Protocol ARP ที่มีอยู่ใน Protocol TCP/IP ในการค้นหา
MAC Address ของ คอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่มันต้องการจะติดต่อด้วย โดย Protocol ARP จะทำการ Broadcast Frame นี้ไปยังทุก Port ของ Switch เรียกว่า ARP Request
เมื่อคอมพิวเตอร์ที่มี IP Address ตรงกับ IP Address ที่ต้องการติดต่อทราบ ก็จะตอบกลับว่านี่เป็น IP Address ของฉัน ก็คือคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ต้องการติดต่อ มันจะตอบกลับพร้อมกับ
ใส่ค่า MAC Address ของมันลง ใน ARP Reply ในแบบ Broadcast ด้วย ซึ่งจะทำให้ Switch รับทราบด้วย ต่อจากนั้น Switch ก็จะทำการ Forward ข้อมูลต่างๆ ไปยัง Port ที่เป็นที่อยู่ของคอมพิวเตอร์ทั้งสองได้อย่างถูกต้อง และ Switch จะยังเก็บเอาข้อมูลของ Mac Address ต้นทางของทั้งสองเอาไว้ในตาราง Source Address Table ( SAT ) เพื่อเก็บเอาข้อมูล
MAC Address กับ Port ที่ติดต่อไว้ใช้ในการสื่อสารที่จะเกิดขึ้นต่อไป

OSI+TCP/TP[แก้]

องค์ประกอบของ OSI Model

OSI Model หรือ OSI Reference Model หรือชื่อเต็มว่า Open Systems Interconnection Basic Reference Model เป็น มาตรฐานการอธิบายการติดต่อสื่อสารและโพรโทคอลของ
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนา ขึ้นโดยองค์กรที่ชื่อว่า International Organization for Standardization (ISO)

OSI Model พัฒนาโดย International Organization for Standardization (ISO) ในปี 1984 และ เป็นสถาปัตยกรรมโมเดลหลักที่ใช้อ้างอิงในการสื่อสาระหว่าง Computer
โดยข้อดีของ OSI Model คือแต่ละ Layer จะมีการทำงานที่เป็นอิสระจากกัน ดังนั้นจึงสามารถออกแบบอุปกรณ์ของแต่ละ Layer แยกจากกันได้ และการปรับปรุงใน Layer หนึ่งจะไม่มีผลกระทบ
กับ Layer อื่นๆ OSI Model ประกอบด้วย 7 Layer คือ