ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Jirapakorn

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
                                                                                                   เขียนเชิงวิชาการ

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ หมายถึง การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบ สำรวจ รวบรวม หรือวิเคราะห์อย่างระเอียดถี่ถ้วนมีเหตุผลและหลักฐานที่มาอย่างมีระบบแบบแผนแน่นอน อาจทำเป็นรายบุคคลหรือเป็นคณะก็ได้ วิธีจดบันทึก 1.จดบันทึกจากการฟัง 2.จดบันทึกจากการอ่าน 3.จกบันทึกจากประสบการณ์ตรง หลักสำคัญของการจดบันทึก 1.เก็บข้อมูลให้ถูกต้องตรงความจริง 2.ระบุแหล่งที่มาให้ชัดเจน รวมทั้งบอก วัน เดือน ปี ที่ได้บันทึกไว้ด้วย 3.จดบันทึกอย่างมีระบบให้เป็นระเบียบเดียวกัน วิธีจดบันทึกจากการฟัง วิธีจดบันทึกจากการฟังต้องรู้จักเลือกจดประเด็นสำคัญให้ใช้อักษรย่อหรือเครื่องหมายที่ใช้กันเพื่อให้การจดบันทึกไว้ได้อย่างรวดเร็ว วิธีจดบันทึกจากการอ่าน วิธีจดบันทึกจากการอ่านมีสิ่งสำคัญที่ต้องเข้าใจและปฏิบัติ 3 เรื่องคือ 1. วิธีบันทึกแหล่งที่มา การบอกแหล่งที่มาควรบันทึกให้เป็นระบบเพื่อสะดวกในการนำไปใช้รายงานต่อไป และเป็นมรรยาทสำคัญยิ่งของนักวิชาการที่แสดงความเคารพต่อเจ้าของเดิม วิธีบันทึกข้อความ 2. วิธีจดบันทึกที่สำคัญ ๆ มีดังนี้ 1. จับสาระสำคัญของข้อความที่อ่านและจดบันทึกโดยใช่ถ้อยคำชองเราเองโดยไม่ต้องต่อเติม 2. ใช้ถ้อยคำบางคำที่สำคัญจากต้อนฉบับ ประสมกับถ้อยคำของเราเองโดยไม่มีการต่อเติม 3. จดข้อความตอนใดตอนหนึ่งจากหนังสือที่อ่านเพื่อใช้ในการอ้างอิงโดยจดให้ตรงต้นฉบับ 4. ทำโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่งใน 3 วิธีข้างต้น และแสดงความคิดเห็นหรือข้อสังเกตเพื่อเติมโดนระบุไว้ชัด

  ว่าตอนนี้เป็นความคิดของเราเป็นความคิดเสริมและเขียนแยกไว้อีกต่างหากตอนหนึ่ง

3.รูปแบบในการบันทึก ควรจดเพียงด้วนเดียวบนแผ่นกระดาษที่มีขนาดเดียวกัน ควรวางรูปแบบในการจดบันทึกตามลำดับดังนี้ หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย แหล่งที่มาของเอกสาร เลขที่หน้าของข้อความนั้นปรากฏ เนื้อความ

วิธีจดบันทึกจากประสบการณ์ตรง 1. ระบุเรื่องที่บันทึก 2. บอกวัน เวลา สถานที่ ให้ถูกต้อง 3. ระบุชื่อผู้เกี่ยวข้อง 4. บอกสภาพของสิ่งที่บันทึกให้ชัดเจน 5. เรียบเรียงตามลำดับเหตุการณ์ 6. ถ้ามีข้อสังเกตหรือความคิดเห็นประการใด ควรเรียบเรียงไว้ตอนท้ายทั้งนี้ควรเขียนให้รวบรัดให้รายระเอียดเท่าที่จำเป็น

ขั้นตอนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ

ขั้นที่1 เลือกหัวข้อเรื่อง ควรเลือกเรื่องที่ตนสนใจมากที่สุด สะดวกในการค้นคว้า และสามารถทำให้เสร็จในเวลาจำกัด ขั้นที่ 2 กำหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตเรื่อง ขั้นที่ 3 ค้นคว้าและรวบรวมความรู้ อาจทำได้โดยการอ่านจากเอกสาร การไปสังเกตด้วยตนเอง ขั้นที่ 4 วางโครงเรื่อง โครงเรื่องจะช่วยป้องกันไม่ให้เขียนออกนอกเรื่อง

การวางโครงเรื่องควรทำเป็น 2 ตอนดังนี้ 1. ร่างโครงเรื่อง เขียนหัวข้อต่างๆลงไปตามที่ตนต้องการทั้งนี้ยังไม่ต้องเรียงลำดับ 2. กำหนดโครงเรื่อง เมื่อเขียนหัวข้อทั้งหมดแล้วจัดเรียงเรื่องตามลำดับและแก้ไขภาษา

--Not-jirapakorn (พูดคุย) 21:41, 2 กรกฎาคม 2555 (ICT)