บัวชั้น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Curcuma petiolata)
บัวชั้น
ภาพวาดจาก Plantae Asiaticae Rariores
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Monocots
ไม่ได้จัดลำดับ: Commelinids
อันดับ: Zingiberales
วงศ์: Zingiberaceae
สกุล: Curcuma
สปีชีส์: C.  petiolata
ชื่อทวินาม
Curcuma petiolata
Roxb.
ชื่อพ้อง [1][2]
  • Curcuma cordifolia Roxb. (nom. nud.)
  • Curcuma cordata Wall.
Curcuma petiolata Roxb.

บัวชั้น[3]หรือว่านจักรพรรดิ ชื่อวิทยาศาสตร์: Curcuma petiolata มีชื่อภาษาอังกฤษหลายชื่อคือ jewel of Thailand,[2] Siam tulip, hidden ginger,[2] pastel hidden ginger,[2] hidden lily[2] or queen lily[4]) เป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceae และเป็นพืชท้องถิ่นในไทยและมาเลเซีย [4][5] เป็นไม้ล้มลุกมีเหง้าใต้ดิน เนื้อเหง้าสีเหลืองอ่อน ใบเดี่ยว ก้านใบยาว ดอกช่อสีเหลือง ทรงแบบดอกกระเจียว

ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่าทำให้คงกระพัน[6] ในภาษามลายูเรียกเตอมูปูเตอรี ชาวโอรังอัซลีในรัฐเปรัก ประเทศมาเลเซีย ใช้น้ำคั้นจากเหง้ารักษาโรคกระเพาะอาหาร[7]

อ้างอิง[แก้]

  1. Jana Leong-Škorničková, Otakar Šída, Karol Marhold (2010). "Back to types! Towards stability of names in Indian Curcuma L. (Zingiberaceae)" (PDF). Taxon. 59 (1): 269–282. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-12-24. สืบค้นเมื่อ 2014-11-21.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Multilingual Multiscript Plant Name Database - Sorting Curcuma names". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-09. สืบค้นเมื่อ 7 June 2010.
  3. http://web.agri.cmu.ac.th/agjournal/content.asp?JID=114&CID=833[ลิงก์เสีย]
  4. 4.0 4.1 Llamas, Kirsten Albrecht (2003). Tropical flowering plants: a guide to identification and cultivation. Timber Press. p. 367. ISBN 978-0-88192-585-2. สืบค้นเมื่อ 6 June 2010.
  5. "Curcuma". Pacific Bulb Society. สืบค้นเมื่อ 7 June 2010.
  6. เศรษฐมนตร์ กาญจนกุล. ว่าน. กทม. เศรษฐศิลป์. 2553
  7. Samuel, A.J.S.J., Kalusalingam, A., Chellappan, D.K., Gopinath, R., Radhamani, S., Husain, H. A., Muruganandham, V., Promwichit, P. 2010. Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong, Perak, West Malaysia. Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine. 6:5