ไฟล์:Diorama of the Battle of Than Nang Sang Bridge of Chumphon Province, National Memorial, Thailand (3).jpg

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ดูภาพที่มีความละเอียดสูงกว่า(4,000 × 2,250 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 4.67 เมกะไบต์, ชนิดไมม์: image/jpeg)

Wikimedia Commons logo รูปภาพหรือไฟล์เสียงนี้ ต้นฉบับอยู่ที่ คอมมอนส์ รายละเอียดด้านล่าง เป็นข้อความที่แสดงผลจาก ไฟล์ต้นฉบับในคอมมอนส์
คอมมอนส์เป็นเว็บไซต์ในโครงการสำหรับเก็บรวบรวมสื่อเสรี ที่ คุณสามารถช่วยได้

ความย่อ

คำอธิบาย
ไทย: ฉากจำลองเหตุการณ์การรบของยุวชนทหารและตำรวจสนามที่เชิงสะพานท่านางสังข์ จัดแสดงอยู่ที่ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์สถานแห่งชาติ ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี

การรบที่สะพานท่านางสังข์เป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์กองทัพญี่ปุ่นบุกประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเหตุการณ์เกิดขึ้นในพื้นที่เชิงสะพานท่านางสังข์ อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เมื่อเวลาเช้าของวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ซึ่งเป็นวันที่กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นปฏิบัติยกพลขึ้นบกตามหัวเมืองชายฝั่งทะเลจังหวัดต่างๆ ของไทย โดยดำเนินการไปพร้อมกันกับปฏิบัติการโจมตีอ่าวเพิร์ลในรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา (ยังคงเป็นวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ในพื้นที่ฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก) ในมุมขวาล่างของฉากจำลองเหตุการณ์ดังกล่าว จะเห็นสิบเอกสำราญ ควรพันธ์ (ภายหลังได้รับพระราชทานเลื่อนยศเป็นนายทหารสัญญาบัตร ชั้นยศร้อยโท) ครูฝึกหน่วยยุวชนทหารที่ 52 โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร ทำหน้าที่บัญชาการหน่วยยุวชนทหารในการต่อสู้แทนร้อยเอกถวิล นิยมเสน (ภายหลังได้รับพระราชทานเลื่อนยศเป็นพันโท) ผู้บังคับหน่วยฝึกยุวชนทหารที่ 52 ซึ่งเสียชีวิตระหว่างการรบ แม้ว่าตนเองจะบาดเจ็บ โดยมียุวชนทหารคอยช่วยปฐมพยาบาลอยู่ด้วย การรบได้ยุติลงในช่วงเวลาประมาณเที่ยงวันของวันเดียวกัน เนื่องจากรัฐบาลไทยได้ตัดสินใจยอมให้ญี่ปุ่นยกทัพผ่านประเทศไทยไปตีพม่าและมลายูของอังกฤษ เพื่อรักษาชีวิตของพลเมืองไทยไว้

เหตุการณ์ดังกล่าวจึงถือเป็นวีรกรรมครั้งสำคัญของยุวชนทหาร ที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันประเทศด้วยความกล้าหาญและความเสียสละ ภายหลังเมื่อมีการก่อตั้งนักศีกษาวิชาทหารเพื่อฝึกหัดวิชาทหารให้แก่เยาวชนแทนองค์กรยุวชนทหารซึ่งถูกยุบลงหลังสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงได้มีการกำหนดให้วันที่ 8 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันนักศึกษาวิชาทหาร เพื่อรำลึกถึงวีรกรรมของยุวชนทหารสืบมาจนถึงทุกวันนี้
วันที่
แหล่งที่มา งานของตัว
ผู้สร้างสรรค์ Xiengyod~commonswiki
ตำแหน่งที่ตั้งกล้อง13° 57′ 05.7″ เหนือ, 100° 37′ 06.33″ ตะวันออก Kartographer map based on OpenStreetMap.ภาพนี้และภาพอื่น ๆ ณ สถานที่เดียวกันที่ OpenStreetMapinfo

การอนุญาตใช้สิทธิ

ข้าพเจ้า ในฐานะผู้ถือลิขสิทธิ์ของภาพหรือสื่อนี้ อนุญาตให้ใช้ภาพหรือสื่อนี้ภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้
w:th:ครีเอทีฟคอมมอนส์
แสดงที่มา อนุญาตแบบเดียวกัน
คุณสามารถ:
  • ที่จะแบ่งปัน – ที่จะทำสำเนา แจกจ่าย และส่งงานดังกล่าวต่อไป
  • ที่จะเรียบเรียงใหม่ – ที่จะดัดแปลงงานดังกล่าว
ภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้:
  • แสดงที่มา – คุณต้องให้เกียรติเจ้าของงานอย่างเหมาะสม โดยเพิ่มลิงก์ไปยังสัญญาอนุญาต และระบุหากมีการเปลี่ยนแปลง คุณอาจทำเช่นนี้ได้ในรูปแบบใดก็ได้ตามควร แต่ต้องไม่ใช่ในลักษณะที่แนะว่าผู้ให้อนุญาตสนับสนุนคุณหรือการใช้งานของคุณ
  • อนุญาตแบบเดียวกัน – หากคุณดัดแปลง เปลี่ยนรูป หรือต่อเติมงานนี้ คุณต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกันหรือแบบที่เหมือนกับสัญญาอนุญาตที่ใช้กับงานนี้เท่านั้น

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

13°57'5.702"N, 100°37'6.326"E

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน03:18, 2 สิงหาคม 2561รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 03:18, 2 สิงหาคม 25614,000 × 2,250 (4.67 เมกะไบต์)Xiengyod~commonswikiUser created page with UploadWizard

การใช้ไฟล์ข้ามโครงการ

วิกิอื่นต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลเกี่ยวกับภาพ