แถบสวอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก แถบหงส์)
สเปกตรัมของเปลวไฟสีฟ้าจากหัวพ่นไฟแก๊สบิวเทนแสดงแถบการเปล่งแสงจากอนุมูลอิสระที่ถูกกระตุ้นและแถบสวอน

แถบสวอน (Swan bands) คือ คุณลักษณะของสเปกตรัม (spectra) [1] ของดาวฤกษ์คาร์บอน (carbon stars), ดาวหาง และ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน [2][3] ได้รับการตั้งชื่อตามชื่อของนักฟิสิกส์ชาวสกอตแลนด์ที่ชื่อ วิลเลียม สวอน (William Swan) ซึ่งเป็นคนแรกที่ได้ทำการศึกษาวิเคราะห์สเปกตรัมอนุมูลของคาร์บอนอะตอมคู่ [4] [5] C2 (radical Diatomic carbon) ในปี 1856 [6]

แถบสวอนประกอบไปด้วยแถบของการสั่นอยู่หลายลำดับที่กระจายตัวอยู่ทั่วไปในคลื่นที่ตามองเห็น (visible spectrum) [7]

ดูเพิ่มเติม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-25. สืบค้นเมื่อ 2015-07-20.
  2. R.C. Johnson (1927). "The structure and origin of the Swan band spectrum of carbon". Philosophical Transactions of the Royal Society A. 226 (636–646): 157–230. Bibcode:1927RSPTA.226..157J. doi:10.1098/rsta.1927.0005.
  3. W.E. Pretty (1927). "The Swan band spectrum of carbon". Proceedings of the Physical Society. 40: 71–78. Bibcode:1927PPS....40...71P. doi:10.1088/0959-5309/40/1/313.
  4. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-07-20.
  5. https://www.twig-aksorn.com/film/glossary/diatomic-6797/
  6. W. Swan (1857). "On the prismatic spectra of the flames of compounds of carbon and hydrogen". Transactions of the Royal Society of Edinburgh. 21: 411–430.
  7. Robert B. King (1948). "Relative Transition Probabilities of the Swan Bands of Carbon". Astrophysical Journal. 108: 429. Bibcode:1948ApJ...108..429K. doi:10.1086/145078.


แม่แบบ:Physics-stub