เยลโลแมจิกออร์เคสตรา
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เยลโล แมจิก ออร์เคสตรา)
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
บทความนี้อาจขยายความได้โดยการแปลบทความที่ตรงกันในภาษาอังกฤษ คลิกที่ [ขยาย] เพื่อศึกษาแนวทางการแปล
|
เยลโลแมจิกออร์เคสตรา | |
---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | |
ที่เกิด | โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น |
แนวเพลง | เทคโนป็อป ซินธ์ป็อป |
ช่วงปี | 1978-1983, 1993 2007-ปัจจุบัน |
สมาชิก | รีวอิชิ ซะกะโมะโตะ ฮะรุโอะมิ โฮะโซะโนะ ยูกิฮิโระ ทะกะฮะชิ |
เยลโลแมจิกออร์เคสตรา (อังกฤษ: Yellow Magic Orchestra, YMO) เป็นวงดนตรีอีเล็กโทรนิกส์จากญี่ปุ่น ก่อตั้งในปี 1978 โดย รีวอิชิ ซะกะโมะโตะ (คีย์บอร์ด) ฮะรุโอะมิ โฮะโซะโนะ (กีตาร์เบส) และ ยูกิฮิโระ ทะกะฮะชิ (มือกลอง และ ร้องนำ)
ผลงาน
[แก้]ซิงเกิล
[แก้]- "Firecracker" (1979, อเมริกา)
- "Yellow Magic" (Tong Poo) (1979, สหราชอาณาจักร)
- "Technopolis" (1979, ญี่ปุ่น)
- "La Femme Chinoise" (1979, สหราชอาณาจักร) (เนื้อเพลง: Chris Mosdell)
- "Computer Game" (1980, สหราชอาณาจักร, อิตาลี, สเปน)
- "Rydeen" (1980, ญี่ปุ่น 1982, สหราชอาณาจักร)
- "Behind the Mask" (1980, สหราชอาณาจักร, อเมริกา, อิตาลี) (เนื้อเพลง: Chris Mosdell)
- "Nice Age" (1980, สหราชอาณาจักร, เนเธอร์แลนด์) (เนื้อเพลง: Chris Mosdell)
- "Tighten Up" (Japanese Gentlemen Stand Up Please) (ฉบับของ Archie Bell & the Drells hit; 1980, อเมริกา, ญี่ปุ่น; 1981, สหราชอาณาจักร)
- "Cue" (1981, ญี่ปุ่น)
- "Mass" (1981, ญี่ปุ่น)
- "Taiso" (1982, ออสเตรเลีย, ญี่ปุ่น)
- "Pure Jam" (1982, สเปน)
- "Kimi ni Munekyun" (1983, ญี่ปุ่น)
- "Kageki na Shukujo" (1983, ญี่ปุ่น)
- "Ishin Denshin (You've Got To Help Yourself)" (1983, ญี่ปุ่น)
- "Every Time I Look Around (I Hear The Madmen Call)" (1983, ฮอลแลนด์)
- Reconstructions EP (1992, สหราชอาณาจักร)
- "Pocketful of Rainbows" (1993, ญี่ปุ่น)
- "Be A Superman" (1993, ญี่ปุ่น)
- "Rescue / Rydeen 79/07" (2007, ญี่ปุ่น) - ดิจิทัลดาวน์โหลด จำหน่าย: 10 มีนาคม 2007, ซีดี จำหน่าย: 22 สิงหาคม 2007
- "The City of Light / Tokyo Town Pages" (2008, ญี่ปุ่น)
อัลบั้มเดิม และ รูปแบบต่างๆ
[แก้]- 1978 Yellow Magic Orchestra
- 1979 Solid State Survivor
- 1980 ×∞ Multiplies (ในนาม Zoshoku)
- 1981 BGM
- 1981 Technodelic
- 1983 Naughty Boys
- 1983 Naughty Boys Instrumental
- 1983 Service
- 1993 Technodon (เป็น
YMO)
อัลบั้มบันทึกการแสดงสด
[แก้]- 1980 Public Pressure
- 1984 After Service
- 1991 Faker Holic (Transatlantic Tour 1979)
- 1992 Complete Service (มิกซ์ โดย ไบรอัน อีโน่)
- 1993 Technodon Live
- 1993 Live At The Budokan 1980
- 1993 Live At Kinokuniya Hall 1978
- 1995 Winter Live 1981
- 1996 World Tour 1980
- 1997 Live At The Greek Theatre 1979
- 2008 EUYMO-YELLOW MAGIC ORCHESTRA LIVE IN LONDON+GIJON 2008-
- 2008 LONDONYMO - Yellow Magic Orchestra Live in London 15/6 08
- 2008 GIJONYMO-YELLOW MAGIC ORCHESTRA LIVE IN GIJON 19/6 08-
อัลบั้มที่ดีที่สุด
[แก้]- 1984 Sealed
- 1992 Technobible
- 1992 Kyoretsu Na Rhythm
- 2000 YMO Go Home! : The Best of Yellow Magic Orchestra, (เรียบเรียง โดย ฮารุโอมิ โฮโซโนะ)
- 2001 One More YMO: The Best of YMO Live" (เรียบเรียง โดย ยูกิฮิโระ ทาคาฮาชิ)
- 2003 UC YMO: Ultimate Collection of Yellow Magic Orchestra (เรียบเรียง โดย ริวอิจิ ซากาโมโตะ)
อัลบั้มรีมิกซ์
[แก้]- 1992 Hi-tech/No Crime (Yellow Magic Orchestra Reconstructed) (การรวบรวมรีมิกซ์โดยศิลปินอังกฤษ)
- 2000 YMO Remixes Technopolis 2000-00 (การรวบรวมรีมิกซ์โดยศิลปินญี่ปุ่น)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บทางการ (ญี่ปุ่น)
- Official MySpace website