ข้ามไปเนื้อหา

อาเมะ โนะ โอชิโฮมิมิ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อาเมะ-โนะ-โอชิโฮมิมิ)
อาเมะ-โนะ-โอชิโฮมิมิ-โนะ-มิโกโตะ
ข้อมูลส่วนบุคคล
คู่ครองทากูฮาดาจจจิ-ฮิเมะ
บุตร - ธิดานินิงิ-โนะ-มิโกโตะ
บิดา-มารดา
พี่น้องอาเมะ-โนะ-โฮฮิ (พี่/น้องชาย)

อามัตสึฮิโกเนะ (พี่/น้องชาย) อิกุตสึฮิโกเนะ (พี่/น้องชาย)

ฮิโนฮายาฮิ (พี่/น้องชาย)

อาเมโนโอชิโฮมิมิ (ญี่ปุ่น: 天之忍穂耳命)[1][2] หรือในชื่อสั้นว่า โอชิโฮมิมิ เป็นพระราชโอรสองค์แรกของอามาเตราซุ[3] เชื่อกันว่าเขาเป็นบรรพบุรุษของราชวงศ์ญี่ปุ่น[4]

ชื่อและนิรุกติศาสตร์

[แก้]

ชื่อ อาเมโนโอชิโฮมิมิ แปลว่า (ผู้ควบคุมรวงข้าวของสวรรค์) เขายังมีชื่ออื่นเช่น 正哉吾勝々速天穂別尊 (ญี่ปุ่น: まさかつあかつかちはやあめのほわけのみことโรมาจิMasakatsu Akatsuki Haya Ame no Hobetsu no Mikotoทับศัพท์: มาซากัตสึอากัตสึกิฮายะอาเมะโนะโฮเบ็ตสึโนะมิโกโตะ) ซึ่งปรากฎในเอกสาร เซ็นไดคูจิฮงงิ (ญี่ปุ่น: 先代旧事本紀โรมาจิSendai Kuji Hongi)[1]

เทพปกรณัม

[แก้]

กำเนิด

[แก้]

เขาเกิดจากคามิ ซึ่งมาจากการแข่งขันระหว่างอามาเตราซุกับซูซาโนโอะ

ในหลายฉบับ ซูซาโนโอะนำสายลูกประคำของอามาเตราซุมากัดกับปากของตน ทำให้เกิดคามิชาย 5 อัน[1][5] อันแรกเกิดเป็น อาเมโนโอชิโฮมิมิ อันที่สองเกิดเป็นอาเมะ-โนะ-โฮฮิ อันที่สามคืออามัตสึฮิโกเนะ อันที่สี่เป็นอิกุตสึฮิโกเนะ และอันสุดท้ายคือคูมาโนกูซูบิ [3][6][7][8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "Amenooshihomimi". A History of Japan - 日本歴史 (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-09-28.
  2. "[Soul of Japan] The Divine Age of Shinto". JAPAN Forward (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2019-11-02. สืบค้นเมื่อ 2020-09-29.
  3. 3.0 3.1 Havens, Norman; Inoue, Nobutaka (2006). An Encyclopedia of Shinto (Shinto Jiten): Kami (ภาษาอังกฤษ). Institute for Japanese Culture and Classics Kokugakuin University. ISBN 978-4-905853-08-4.
  4. Isomae, Jun'ichi; Subramanian, Mukund (2016-04-08). Japanese Mythology: Hermeneutics on Scripture (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN 978-1-134-94908-3.
  5. Seigo Takahashi (1917). A Study of the Origin of the Japanese State (PhD). Harvard University.
  6. Mori Mizue (2005-04-21). "Amenohohi". Encyclopedia of Shinto. Kokugakuin University.
  7. Robert Borgen; Marian Ury (April 1990). "Readable Japanese Mythology: Selections from Nihon shoki and Kojiki". The Journal of the Association of Teachers of Japanese. American Association of Teachers of Japanese. 24 (1): 78. eISSN 2326-4535. JSTOR 489230.
  8. Mori Mizue (2005-04-28). "Kumanokusubi". Encyclopedia of Shinto. Kokugakuin University. สืบค้นเมื่อ 2020-10-07.