ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูทางมะพร้าวธรรมดา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
{{Taxobox
| color = pink
| color = pink
| name = งูทางมะพร้าวธรรมมดา
| name = งูทางมะพร้าวธรรมดา
| image = Coelognathus radiatus- Copper headed trinket snake- threat display.jpg
| image = Coelognathus radiatus- Copper headed trinket snake- threat display.jpg
| image_width = 250px
| image_width = 250px
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
|status_ref=|status_system=IUCN3.1|binomial=''Coelognathus radiatus''|binomial_authority=([[Friedrich Boie|Boie]], 1827)}}
|status_ref=|status_system=IUCN3.1|binomial=''Coelognathus radiatus''|binomial_authority=([[Friedrich Boie|Boie]], 1827)}}


'''งูทางมะพร้าว'''ธรรมดา เป็นงูไม่มีพิษจัดเป็นงูบกที่มีสีและลวดลายงดงาม{{โครงส่วน}}
'''งูทางมะพร้าวธรรมดา''' เป็นงูไม่มีพิษจัดเป็นงูบกที่มีสีและลวดลายงดงาม



== ลักษณะ ==
== ลักษณะ ==
<br />ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเหลืองหรือสีน้ำตาลอมเทา มีลายเป็นทางยาวสีดำ 4 เส้นพาดจากส่วนคอแล้วค่อยๆจางไปทางกึ่งกลางลำตัว ส่วนหัวมีสีน้ำตาลแดง มีเส้นสีดำ 3 เส้นพาดแผ่เป็นรัศมีออกจากมุมตาด้านหลัง ลักษณะเด่นคือมักแกล้งทำเป็นตายเพื่อหลีกเลี่ยงศัตรูเมื่อสู้ไม่ไหว หรือขู่ศัตรูโดยการทำคอแบนเข้าทางด้านข้างและขยายกว้างเป็นทางยาว พร้อมกับยกหัวและส่วนต้นประมาณหนึ่งในสี่ของความยาวลำตัวให้สูงขึ้นเป็นวงโค้งเหมือนสปริง และพุ่งเข้าใส่ศัตรูอย่างว่องไวเพื่อฉกกัด
ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเหลืองหรือสีน้ำตาลอมเทา มีลายเป็นทางยาวสีดำ 4 เส้นพาดจากส่วนคอแล้วค่อยๆจางไปทางกึ่งกลางลำตัว ส่วนหัวมีสีน้ำตาลแดง มีเส้นสีดำ 3 เส้นพาดแผ่เป็นรัศมีออกจากมุมตาด้านหลัง ลักษณะเด่นคือมักแกล้งทำเป็นตายเพื่อหลีกเลี่ยงศัตรูเมื่อสู้ไม่ไหว หรือขู่ศัตรูโดยการทำคอแบนเข้าทางด้านข้างและขยายกว้างเป็นทางยาว พร้อมกับยกหัวและส่วนต้นประมาณหนึ่งในสี่ของความยาวลำตัวให้สูงขึ้นเป็นวงโค้งเหมือนสปริง และพุ่งเข้าใส่ศัตรูอย่างว่องไวเพื่อฉกกัด

การกระจายพันธุ์.'''ถิ่นอาศัย, อาหาร'''

    พบทั่วไปในประเทศไทย

ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม จีน ประเทศอินเดีย เนปาล ศรีลังกา บังคลาเทศ ภูฏานและบางส่วนของประเทศญี่ปุ่น

    อาหารของมันคือ หนู กบ นก กระรอก กระแต

กิ้งก่า จิ้งจกและตุ๊กแก เป็นต้น


'''พฤติกรรม, การสืบพันธุ์'''
== การกระจายพันธุ์และอาหาร ==
พบทั่วไปในประเทศไทย ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม จีน ประเทศอินเดีย เนปาล ศรีลังกา บังคลาเทศ ภูฏานและบางส่วนของประเทศญี่ปุ่น อาหารของมันคือ หนู กบ นก กระรอก กระแต กิ้งก่า จิ้งจกและตุ๊กแก เป็นต้น


== พฤติกรรมและการสืบพันธุ์ ==
    เป็นงูออกหากินในเวลากลางวันตามป่าหญ้ารกๆ และบนต้นไม้ บางทีพบตามยุ้งข้าว บนบ้าน ปกติไม่ดุ ถ้าตกใจและเข้าใกล้จะแว้งกัด เวลาขู่จะพองหนังคออ้าปากดูน่ากลัว
เป็นงูออกหากินในเวลากลางวันตามป่าหญ้ารกและบนต้นไม้ บางทีพบตามยุ้งข้าว บนบ้าน ปกติไม่ดุ ถ้าตกใจและเข้าใกล้จะแว้งกัด เวลาขู่จะพองหนังคออ้าปากดูน่ากลัว


'''สถานภาพปัจจุบัน''' 
== สถานภาพปัจจุบัน==
เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535


เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535<br />
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:10, 14 พฤษภาคม 2562

งูทางมะพร้าวธรรมดา
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Serpentes
วงศ์: Colubridae
วงศ์ย่อย: Colubrinae
สกุล: Coelognathus
สปีชีส์: C.  radiata
ชื่อทวินาม
Coelognathus radiatus
(Boie, 1827)

งูทางมะพร้าวธรรมดา เป็นงูไม่มีพิษจัดเป็นงูบกที่มีสีและลวดลายงดงาม

ลักษณะ

ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเหลืองหรือสีน้ำตาลอมเทา มีลายเป็นทางยาวสีดำ 4 เส้นพาดจากส่วนคอแล้วค่อยๆจางไปทางกึ่งกลางลำตัว ส่วนหัวมีสีน้ำตาลแดง มีเส้นสีดำ 3 เส้นพาดแผ่เป็นรัศมีออกจากมุมตาด้านหลัง ลักษณะเด่นคือมักแกล้งทำเป็นตายเพื่อหลีกเลี่ยงศัตรูเมื่อสู้ไม่ไหว หรือขู่ศัตรูโดยการทำคอแบนเข้าทางด้านข้างและขยายกว้างเป็นทางยาว พร้อมกับยกหัวและส่วนต้นประมาณหนึ่งในสี่ของความยาวลำตัวให้สูงขึ้นเป็นวงโค้งเหมือนสปริง และพุ่งเข้าใส่ศัตรูอย่างว่องไวเพื่อฉกกัด

การกระจายพันธุ์และอาหาร

พบทั่วไปในประเทศไทย ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม จีน ประเทศอินเดีย เนปาล ศรีลังกา บังคลาเทศ ภูฏานและบางส่วนของประเทศญี่ปุ่น อาหารของมันคือ หนู กบ นก กระรอก กระแต กิ้งก่า จิ้งจกและตุ๊กแก เป็นต้น

พฤติกรรมและการสืบพันธุ์

เป็นงูออกหากินในเวลากลางวันตามป่าหญ้ารกและบนต้นไม้ บางทีพบตามยุ้งข้าว บนบ้าน ปกติไม่ดุ ถ้าตกใจและเข้าใกล้จะแว้งกัด เวลาขู่จะพองหนังคออ้าปากดูน่ากลัว

สถานภาพปัจจุบัน

เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

อ้างอิง

[1] [2] [3] [4]

  1. http://www.saovabha.com/th/snakefarm_nonvenom.asp
  2. http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=999
  3. https://sites.google.com/site/bangchansnake/ngu-thang-maphraw
  4. http://www.oknation.net/blog/freesoultofly/2011/11/14/entry-1