1,296
การแก้ไข
(→กติกา) |
(แก้ไขรายละเอียดใหม่) |
||
| creator =
| developer = [[ทริปเปิ้ล ทู|บริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด]]
| presenter = [[เกียรติ กิจเจริญ]]<br>[[โน้ต เชิญยิ้ม]] (2544)
| starring =
| voices =
| narrated =
| theme_music_composer =
| opentheme = รักกันสนั่นเมือง (2542 -
| endtheme =
| country = {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]]
| location =
| camera =
| runtime = 60 นาที
| network ='''[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]]
| picture_format =
| first_run = [[พ.ศ. 2542]]
| first_aired = [[พ.ศ. 2542]]
| last_aired = [[พ.ศ.
| preceded_by =
| followed_by =
| related =
| website =
| imdb_id =
| tv_com_id =
}}
'''รักกันสนั่นเมือง''' เป็นรายการโทรทัศน์ลำดับที่ 4 ที่ผลิตโดย [[บริษัท ทริปเปิ้ล ทู จำกัด]] ต่อจากรายการ '''แสบคูณสอง''' '''จารบีสีชมพู''' และ '''จารบีปีเสือ''' ซึ่งออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันอาทิตย์ที่ [[12 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2542]] ทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]] ออกอากาศทุกคืนวันอาทิตย์ เวลา 22.00 - 23.00 น. โดยในยุคแรกเปิดโอกาสให้เฉพาะคู่สามีภรรยามาแข่งขันในรายการ ต่อมาเปลี่ยนเป็นคู่ของพี่-น้อง เพื่อน แม่-ลูกหรือพ่อ-ลูก จากทางบ้านสมัครเข้ามาในรายการ และวันอาทิตย์ที่ [[
* [[เกียรติ กิจเจริญ]] (12 มีนาคม พ.ศ. 2542 - 30 กันยายน พ.ศ. 2544)
* [[โน้ต เชิญยิ้ม]] (
== เกมในรักกันสนั่นเมือง ==
ในส่วนของเกมการแข่งขันในรายการรักกันสนั่นเมืองนั้น สามารถแบ่งได้เป็น 2 ยุคด้วยกัน คือรักกันสนั่นเมือง (มีนาคม 2542 - กรกฎาคม 2544) และรักกันสนั่นเมือง คนยักษ์ (กรกฎาคม 2544 - กันยายน 2544) ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้ โดยในแต่ละยุคได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเกมในรายการอยู่เรื่อยๆ
=== รักกันสนั่นเมือง (12 มีนาคม 2542 - 15 กรกฎาคม 2544) ===
==== ซิตคอมสั้นในรายการ ====▼
ช่วงนี้คือช่วง คำตอบง่ายๆของการถ่ายภาพ ช่วงนี้
==== รักต้องเลือก ====
ในรอบนี้คือรอบ รักต้องเลือก (ผู้สนับสนุนในรอบนี้คือ ครีมเทียมคอฟฟี่เมด ต่อมาเป็นฟิล์มสีโกดัก แม็กซ์ อาหารสุนัขเพดดีกรีและ
==== รักต้องรู้ ====
ในรอบนี้คือรอบ รักต้องรู้ (ผู้สนับสนุนในรอบนี้คือ ชุดเครื่องนอนโลตัส ต่อมา
==== รอบตัดสิน ====
รอบตัดสินนี้เป็นรอบที่ใช้เล่นในกรณีที่มีผู้ได้คะแนนต่ำที่สุดในรอบรักต้องเลือก หรือรอบรักต้องรู้มากกว่า 1 คู่ โดยในเกมนี้จะมีแผ่นป้ายของรายการที่มีหมายเลข 1-4 กำกับทั้งหมด 4 แผ่นป้าย โดยจะมีตัวเลข 0-3 ให้ผู้เข้าแข่งขันที่มีคะแนนต่ำสุดในกรณีที่มีมากกว่า 1 คู่ ได้เลือกแผ่นป้ายคนละ 1 แผ่นป้าย ในเกมนี้คู่ที่ได้ตัวเลขน้อยที่สุดจะตกรอบทันที และได้รับเงินรางวัล 20,000 บาท ส่วนผู้ที่ได้ตัวเลขมากกว่าก็จะเข้ารอบรักต้องรู้ หรือรอบสุดท้ายต่อไป
=== รอบสุดท้าย ===▼
ในส่วนของรักกันสนั่นเมือง คนยักษ์ ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบจากการตอบคำถามทายใจผู้เข้าแช่งขัน มาเป็นการแข่งขันเกมแนวแอคชั่นเกมเพื่อสะสมคะแนนแทน โดยในแต่ละเทปจะมี 1 เกมที่ใช้ในการแข่งขันทั้ง 2 รอบ ในรอบแรกจะมีคะแนนปกติตามที่ทางรายการกำหนดไว้ (ผู้สนับสนุนหลักในรอบนี้คือรองเท้าแอดด้า ต่อมาเป็นสบู่นกแก้ว) ส่วนในรอบที่ 2 อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงการคิดคะแนน (ผู้สนับสนุนหลักในรอบนี้คือผลิตภัณฑ์น่ารัก) คู่ใดก็ตามได้คะแนนมากที่สุดจะเข้ารอบสุดท้าย ส่วนคู่ที่ตกรอบก็จะไปสะสมเงินรางวัลกลับบ้านต่อไป
ในรอบสุดท้ายนี้ คู่ที่เข้ารอบมาถึงรอบสุดท้าย ต้องตอบคำถามที่คู่ของคุณได้ตอบออกมาก่อนล่วงหน้าแล้ว โดยจะมี 1 คำถามกับอีก 5 คำตอบ ตอบถูก 1 คำตอบ ได้เปิดแผ่นป้าย 1 แผ่นป้าย โดยแผ่นป้ายมีทั้งหมด 12 แผ่นป้าย แบ่งเป็น 10,000 บาท 6 แผ่นป้าย และ 5,000 บาทอีก 6 แผ่นป้าย ถ้าตอบผิดแม้แต่คำตอบเดียว จบเกมทันที แต่ในบางครั้งพิธีกรจะเปิดเพิ่มเพื่อแถมเงินรางวัล แล้วแต่ความประสงค์ของผู้เข้าแข่งขัน▼
==== การแข่งขัน ====▼
▲=== รักกันสนั่นเมืองคนยักษ์ (ตั้งแต่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2544) ===
▲=== การแข่งขัน ===
{|class="wikitable"
|-
| ในรอบนี้คือรอบ ผึ้งกับน้ำหวาน ในเกมนี้ต้องแข่งเป็นคู่ ผู้แข่งขันต้องสวมชุดผึ้ง โดยจะให้ฝ่ายชายเป็นคนตักน้ำมา โดยจะต้องผ่านอุปสรรคที่เต็มไปด้วยหนาม โดยฝ่ายหญิงรอรับน้ำ ฝ่ายชายจะต้องเทน้ำใส่ถังบรรจุที่อยู่บนศีรษะของฝ่ายหญิง แล้วฝ่ายหญิงต้องเดินข้ามอุปสรรคไปจนถึงถังบรรจุน้ำที่จุดเส้นชัย โดยจะมีขีดบอกตำแหน่งปริมาณน้ำอยู่ด้านล่าง โดยรอบที่ 2 ฝ่ายหญิงจะเป็นคนตักน้ำ ฝ่ายชายรอรับน้ำจากฝ่ายหญิงโดยจะต้องเทน้ำใส่ถังบรรจุที่อยู่บนศีระษะของฝ่ายชาย แล้วฝ่ายชายต้องผ่านอุปสรรคที่เต็มไปด้วยหนาม ไปจนถึงจุดเส้นชัย แต่จะต้องทำให้ปริมาณน้ำมากกว่ารอบแรก พอจบการแข่งขันทั้ง 2 รอบ นำคะแนนทั้ง 2 รอบมารวมกัน คู่ไหนมีคู่ไหนสามารถทำปริมาณน้ำได้มากที่สุดจะได้เข้าสู่รอบสุดท้ายทันที
|-
|}
=== รอบตกรอบ ===
รอบตกรอบนี้เป็นรอบสำหรับผู้ตกรอบในรอบที่ 2 เท่านั้น เริ่มเล่นเมื่อวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2544]] โดยในเกมนี้จะมีแผ่นป้ายผู้สนับสนุนหลักทั้งหมด 20 แผ่นป้าย แบ่งเป็นป้าย 5,000 บาท 14 แผ่นป้าย ป้ายกิ๊ก
▲=== รอบสุดท้าย ===
▲ในรอบสุดท้าย
ในช่วงเดือนมกราคม 2544 ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการ 12 แผ่นป้าย (ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2544 เพิ่มเป็น 20 แผ่นป้าย) โดยมีแผ่นป้ายรูปหัวใจ 6 แผ่นป้าย และแผ่นป้ายรูปเครื่องในอีก 6 แผ่นป้าย (ภายหลังเพิ่มเป็นอย่างละ 10 แผ่นป้าย) (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ สบู่นกแก้ว) ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือก 6 แผ่นป้าย โดยหากเปิดแผ่นป้ายแรกออกมาเป็นอะไร ป้ายต่อไปต้องให้ได้เหมือนกันเท่านั้น (เช่นหากเปิดแผ่นป้ายแรกเป็นหัวใจ ป้ายต่อไปต้องให้ได้หัวใจ) ถ้าหากเปิดได้เหมือนกับป้ายที่เลือกออกมาก่อนหน้านี้จะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท แต่ถ้าไม่เหมือนจะได้รับเงินรางวัลแค่ 5,000 บาทเท่านั้น ทั้งนี้ถ้าหากสามารถเปิดแผ่นป้ายรูปหัวใจหรือเครื่องในได้เหมือนกันทั้งหมด 6 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัล 50,000 บาท แต่ในบางครั้งพิธีกรจะเปิดเพิ่มเพื่อแถมเงินรางวัล แล้วแต่ความประสงค์ของผู้เข้าแข่งขัน
ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2544 ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการ 20 แผ่นป้าย โดยมีแผ่นป้ายรูปผู้ชาย 10 แผ่นป้าย และแผ่นป้ายรูปผู้หญิงอีก 10 แผ่นป้าย (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ สบู่นกแก้ว) ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือก 6 แผ่นป้าย โดยก่อนเล่น พิธีกรจะให้เลือกก่อนว่าแผ่นป้ายแรกจะเลือกเพศอะไร ถ้าหากตรงกับที่เลือกมาจะได้เงินรางวัลเริ่มต้น 10,000 บาท แต่ถ้าไม่ตรงจะไม่ได้เงินรางวัลเริ่มต้นใดๆ โดยหากเปิดแผ่นป้ายแรกออกมาเป็นเพศอะไร ป้ายต่อไปต้องให้ได้เพศตรงข้ามเท่านั้น (เช่นหากเปิดแผ่นป้ายแรกเป็นผู้ชาย ป้ายต่อไปต้องให้ได้ผู้หญิง) ถ้าหากเปิดสลับกับป้ายที่เลือกออกมาก่อนหน้านี้จะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท แต่ถ้าซ้ำกับป้ายก่อนหน้านั้นจะได้รับเงินรางวัลแค่ 5,000 บาทเท่านั้น ทั้งนี้ถ้าหากสามารถเปิดแผ่นป้ายสลับชายหญิงได้ทั้งหมด 6 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัล 60,000 บาท แต่ในบางครั้งพิธีกรจะเปิดเพิ่มเพื่อแถมเงินรางวัล แล้วแต่ความประสงค์ของผู้เข้าแข่งขัน
ในรอบสุดท้ายนี้ คู่ที่เข้ารอบมาถึงรอบสุดท้าย ต้องเป่ายิ้งฉุบแข่งกับพิธีกร โดยการหมุนวงล้อ ถ้าผลออกมาชนะได้เงินสะสม 10,000 บาท แตถ้าผลออกมาเสมอได้ 5,000 บาท แต่ถ้าผลออกมาแพ้ ก็ไม่ได้เงินสะสม แต่ถ้าคู่แข่งขันสามารถเป่ายิ้งฉุบชนะพิธีกรทั้งหมด 6 รอบ จะได้เงินรางวัล 200,000 บาท แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนละ 100,000 บาท ให้กับผู้แข่งขันและผู้โชคดีจากทางบ้านที่มาจากการจับชิ้นส่วนของผู้สนับสนุนหลักที่ผู้ชมทางบ้านส่งมาร่วมสนุกนั่นเอง▼
▲ใน
▲=== ซิตคอมสั้นในรายการ ===
▲ช่วงนี้คือช่วง คำตอบง่ายๆของการถ่ายภาพ ช่วงนี้ป็นช่วงที่เล่นก่อนรอบรักต้องเลือก เป็นละครซิตคอมสั้น ๆ เกี่ยวกับเหตุการณ์ของตัวละครหลักคือ กิ๊ก พนักงานดูแลร้านโกดัก ที่มักพบลูกค้ากวนประสาทประจำที่ร้านโกดัก EXPRESS แต่จะลงท้ายด้วยการหักมุม
=== ผู้เข้าแข่งขัน ===
และตั้งแต่ [[9 เมษายน]] [[พ.ศ. 2543]] ถึง [[22 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2544]] ได้มีการปรับเปลี่ยนไตเติ้ลโดยเป็นไตเติ้ลรูปแบบแรกที่ไม่มีเพลงประกอบรายการ โดยใช้เพลงบรรเลง และในรักกันสนั่นเมืองคนยักษ์ ปรับเปลี่ยนไตเติ้ลโดยเป็นรูปแบบที่ 2 ที่ไม่มีเพลงประกอบรายการและมีเสียงคอรัสชื่อรายการทั้ง 2 รูปแบบ
[[หมวดหมู่:เกมโชว์ไทย]]
[[หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ไทย]]
[[หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ในอดีต]]
[[หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2542]]
[[หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่ยุติการออกอากาศในปี พ.ศ.
[[หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ช่อง 5]]
|
การแก้ไข