ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


[[หมวดหมู่:สมัยกลาง]]
[[หมวดหมู่:สมัยกลาง]]
[[หมวดหมู่:ระบบเศรษฐกิจ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:38, 24 มกราคม 2558

งานสิบสองเดือนของเกษตรกร (คริสต์ศตวรรษที่ 15)

ระบบมาเนอร์ หรือ สังคมศักดินา (อังกฤษ: Manorialism หรือ Seigneurialism หรือ Feudal Society[1]) คือระบบเศรษฐกิจและสังคมที่นิยมปฏิบัติกันโดยทั่วไปในยุคกลางในยุโรปตะวันตกและยุโรปกลาง ระบบมาเนอร์เป็นระบบที่ผู้เป็นเจ้าของที่ดินหรือลอร์ดมีอำนาจทางเศรษฐกิจและทางกฎหมายที่สนับสนุนโดยรายได้ที่ได้มาจากผลผลิตของที่ดินที่เป็นเจ้าของ และจากค่าธรรมเนียมของเกษตรกรผู้ที่อยู่ภายใต้การปกครองตามกฎหมาย ค่าธรรมเนียมอาจจะเป็นในรูปของ:

  • แรงงาน (ภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า “corvée”),
  • ผลผลิต หรือ
  • เงิน (ไม่บ่อยนัก)

ระบบมาเนอร์เป็นคำที่เกี่ยวข้องกับยุคกลางของยุโรปตะวันตก ที่วิวัฒนาการมาจากระบบเศรษฐกิจชนบทของปลายสมัยจักรวรรดิโรมันโรมัน เมื่อจำนวนประชากรลดลงชนชั้นแรงงานกลายเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจ ในที่สุดก็จัดเป็นระบบมาเนอร์ หรือระบบนายไพร่ที่นายไม่จำเป็นต้องเป็นคฤหัสน์เสมอไปแต่อาจจะเป็นสังฆราช หรือ เจ้าอาวาส แต่ก็มีหน้าที่รับผิดชอบเช่นเดียวกับเจ้าของที่ดิน

อ้างอิง

  1. "Feudal Society", in its modern sense, was coined in Marc Bloch's 1939-40 books of the same name.

ดูเพิ่ม