ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวอสุจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎รูปร่าง: add category using AWB
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
* ส่วนหาง แกนกลางพัฒนามาจาก[[ไมโครทูบูล]] ตอนบนมีกลุ่ม[[ไมโทคอนเดรีย]]ซึ่งใช้เป็นพลังงานในการเคลื่อนที่ของอสุจิ ตอนล่างสามารถโบกพัดได้เพื่อว่ายไปหาเซลล์ไข่
* ส่วนหาง แกนกลางพัฒนามาจาก[[ไมโครทูบูล]] ตอนบนมีกลุ่ม[[ไมโทคอนเดรีย]]ซึ่งใช้เป็นพลังงานในการเคลื่อนที่ของอสุจิ ตอนล่างสามารถโบกพัดได้เพื่อว่ายไปหาเซลล์ไข่



[[หมวดหมู่:ระบบสืบพันธุ์]]
[[หมวดหมู่:การกำเนิด]]
[[หมวดหมู่:การกำเนิด]]
[[หมวดหมู่:เพศศึกษา]]
[[หมวดหมู่:เพศศึกษา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:50, 17 พฤษภาคม 2557

รูปแบบการปฏิสนธิ

ตัวอสุจิ (อังกฤษ: sperm) คือเซลล์สืบพันธุ์ที่แบ่งตัวด้วยกระบวนการไมโอซิสจากร่างกายของสัตว์เพศผู้ในวัยเจริญพันธุ์ และไม่สามารถแบ่งย่อยลงไปได้อีก โดยการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นเมื่อตัวอสุจิผสมกับเซลล์ไข่ในสัตว์เพศเมีย ตัวอสุจิถูกสร้างมาตัวเพศชายและหลั่งออกมาพร้อมกับน้ำเลี้ยงที่เรียกรวมกันว่า น้ำอสุจิ ตัวอสุจิจะสามารถอยู่ได้ประมาณ 3 วันในร่างกายของสัตว์เพศเมียโดยไม่สัมผัสอากาศหรือของเหลวอื่น

รูปร่าง

รูปร่างตัวอสุจิ

ตัวอสุจิของมนุษย์เรียกว่า สเปอร์มาโทซัว (เอกพจน์: spermatozoon หรือ -zoan พหูพจน์: -zoa) รูปร่างคล้ายตัวอ่อนของกบ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนหัวกับส่วนหาง

  • ส่วนหัว เป็นที่อยู่ของนิวเคลียสและเอนไซม์ที่ใช้ย่อยผนังหุ้มเซลล์ไข่ โครโมโซมสืบพันธุ์จะบรรจุอยู่ในนิวเคลียส โดยส่วนหน้าของส่วนหัวเป็นส่วนที่เรียกว่าอะโครโซม(Acrosome)ซึ่งเปลียนมาจาก กอลจิคอมเพล็กซ์ มีหน้าที่ในการเจาะผนังของเซลล์ไข่ โดยบรรจุเอนไซม์ไฮโดรไลซิสไว้หลายชนิด

เช่น ไฮอาลูโรนิเดส อะโครซิน โปรทีเอส

  • ส่วนคอและลำตัว ต่อจากส่วนหัว มีลักษณะเป็นแท่ง ทำหน้าที่ให้พลังงานแก่เซลล์
  • ส่วนหาง แกนกลางพัฒนามาจากไมโครทูบูล ตอนบนมีกลุ่มไมโทคอนเดรียซึ่งใช้เป็นพลังงานในการเคลื่อนที่ของอสุจิ ตอนล่างสามารถโบกพัดได้เพื่อว่ายไปหาเซลล์ไข่