ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทายาทโดยสันนิษฐาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q1370385 (translate me)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แก้ไขคำผิด
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ทายาทโดยสันนิษฐาน<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref>''' ({{lang-en|'''Heir presumptive'''}}) คือ[[ทายาท]]ผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่ง[[ขุนนางสืบตระกูล]]แต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “[[ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง]]” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน
'''ทายาทโดยสันนิษฐาน<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref>''' ({{lang-en|'''Heir presumptive'''}}) คือ[[ทายาท]]ผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่ง[[ขุนนางสืบตระกูล]]แต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “[[ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง]]” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน


ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาใน[[พระมหากษัตริย์]] (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่ทรงมีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงมีพระราชโอรสหรือธิดาตาม
ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาใน[[พระมหากษัตริย์]] (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดาตาม


เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตาม[[ลำดับการสืบสันตติวงศ์]] (Order of succession) ที่กำหนดไว้
เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตาม[[ลำดับการสืบสันตติวงศ์]] (Order of succession) ที่กำหนดไว้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:03, 3 พฤษภาคม 2556

เจ้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร

ทายาทโดยสันนิษฐาน[1] (อังกฤษ: Heir presumptive) คือทายาทผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลแต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน

ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดาตาม

เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์ (Order of succession) ที่กำหนดไว้


อ้างอิง

ดูเพิ่ม