ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระเบียบวิธีเกษียณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: uk:Метод вичерпування
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงคณิตศาสตร์}}

[[ar:طريقة الاستنفاد]]
[[ca:Mètode d'exhaustió]]
[[de:Exhaustionsmethode]]
[[en:Method of exhaustion]]
[[es:Método exhaustivo]]
[[eu:Exhauzio-metodo]]
[[fa:روش افنا]]
[[fr:Méthode d'exhaustion]]
[[he:שיטת המיצוי]]
[[it:Metodo di esaustione]]
[[ja:取り尽くし法]]
[[ko:소거법]]
[[nl:Uitputtingsmethode]]
[[nn:Ekshausjonsbevis]]
[[pl:Metoda wyczerpywania]]
[[pt:Método da exaustão]]
[[ro:Metoda epuizării]]
[[ru:Метод исчерпывания]]
[[sh:Metoda ekshaustije]]
[[tr:Tüketme yöntemi]]
[[uk:Метод вичерпування]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:11, 9 มีนาคม 2556

อาร์คิมิดีส ใช้ระเบียบวิธีเกษียณในการคำนวณพื้นที่ภายในของวงกลม

ระเบียบวิธีเกษียณ (อังกฤษ: method of exhaustion; methodus exaustionibus, หรือ méthode des anciens) คือระเบียบวิธีที่ใช้ในการหาพื้นที่ของรูปร่างหนึ่งๆ โดยแบ่งพื้นที่ภายในออกเป็นอนุกรมของรูปหลายเหลี่ยมเล็กๆ หลายๆ รูปซึ่งมีพื้นที่รวมเข้าใกล้พื้นที่ของรูปใหญ่ที่บรรจุรูปเล็กเหล่านั้นเอาไว้ ถ้าเราสามารถสร้างอนุกรมของรูปได้อย่างถูกต้อง ความแตกต่างของพื้นที่ระหว่างรูปหลายเหลี่ยมรูปที่ n กับรูปภาพที่เป็นโจทย์ก็จะน้อยมากเมื่อ n มีจำนวนใหญ่มากๆ แนวคิดนี้มีกำเนิดจาก แอนติฟอน (Antiphon) แม้จะยังไม่ชัดเจนว่าเขาเข้าใจเรื่องนี้ได้อย่างไร[1] ทฤษฎีนี้ถูกพิสูจน์และรับรองโดย เอนโดซุสแห่งคไนดัส มีการนำชื่อนี้มาใช้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1647 โดย Grégoire de Saint-Vincent ในงานเขียนเรื่อง Opus geometricum quadraturae circuli et sectionum coni

อ้างอิง