ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอคอดปานามา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== ความเป็นมา ==
== ความเป็นมา ==
[[ไฟล์:Balboa Voyage 1513.PNG|350px|thumb|left|Núñez de Balboa's travel route to the South Sea, 1513]]
<!--[[ไฟล์:Balboa Voyage 1513.PNG|350px|thumb|left|Núñez de Balboa's travel route to the South Sea, 1513]]


[[ไฟล์:Nahl_1850%2C_Der_Isthmus_von_Panama_auf_der_H%C3%B6he_des_Chagres_River.jpg|thumb|300px|An 1850 oil painting by Charles Christian Nahl, titled, ''The Isthmus of Panama on the height of the Chagres River'']]
[[ไฟล์:Nahl_1850%2C_Der_Isthmus_von_Panama_auf_der_H%C3%B6he_des_Chagres_River.jpg|thumb|300px|An 1850 oil painting by Charles Christian Nahl, titled, ''The Isthmus of Panama on the height of the Chagres River'']]-->


ขณะแล่นเรือไปตามฝั่งทะเลแคริบเบียน [[Vasco Núñez de Balboa|บัสโก นูเนซ เด บัลโบอา]] (Vasco Núñez de Balboa) ขุนนางชาวสเปนคนหนึ่ง ได้ฟังชนพื้นเมืองร่ำลือถึง "ทะเลใต้" ครั้นวันที่ 25 กันยายน 1513 เขาก็ได้พบทะเลแปซิฟิก และในปี 1519 นครปานามาก็ก่อตั้งขึ้นริมชุมชนพื้นเมืองกลุ่มน้อยรายหาดแปซิฟิก ต่อมา เมื่อมีการค้นพบ[[ประเทศเปรู]]แล้ว นครปานามาก็เจริญเป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นศูนย์กลางการปกครองในที่สุด ลุปี 1671 [[Henry Morgan|เฮนรี มอร์แกน]] (Henry Morgan) โจรสลัดชาวเวลส์ ล่องเรือมาจากฝั่งแคริบเบียนข้ามคอคอดปานามา แล้วเข้าทำลายนครจนถึงแก่ความพินาศ สมัยต่อมา จึงมีการย้ายนครไปตั้งทางตะวันตกที่คาบสมุทรน้อยแห่งหนึ่ง และในปี 1997 [[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]]ประกาศยกซากนครปานามา ซึ่งบัดนี้เรียก "[[Panamá Viejo|ปานามาเบียโค]]" (Panamá Viejo) ขึ้นเป็น[[มรดกโลก]]
ขณะแล่นเรือไปตามฝั่งทะเลแคริบเบียน [[Vasco Núñez de Balboa|บัสโก นูเนซ เด บัลโบอา]] (Vasco Núñez de Balboa) ขุนนางชาวสเปนคนหนึ่ง ได้ฟังชนพื้นเมืองร่ำลือถึง "ทะเลใต้" ครั้นวันที่ 25 กันยายน 1513 เขาก็ได้พบทะเลแปซิฟิก และในปี 1519 นครปานามาก็ก่อตั้งขึ้นริมชุมชนพื้นเมืองกลุ่มน้อยรายหาดแปซิฟิก ต่อมา เมื่อมีการค้นพบ[[ประเทศเปรู]]แล้ว นครปานามาก็เจริญเป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นศูนย์กลางการปกครองในที่สุด ลุปี 1671 [[Henry Morgan|เฮนรี มอร์แกน]] (Henry Morgan) โจรสลัดชาวเวลส์ ล่องเรือมาจากฝั่งแคริบเบียนข้ามคอคอดปานามา แล้วเข้าทำลายนครจนถึงแก่ความพินาศ สมัยต่อมา จึงมีการย้ายนครไปตั้งทางตะวันตกที่คาบสมุทรน้อยแห่งหนึ่ง และในปี 1997 [[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]]ประกาศยกซากนครปานามา ซึ่งบัดนี้เรียก "[[Panamá Viejo|ปานามาเบียโค]]" (Panamá Viejo) ขึ้นเป็น[[มรดกโลก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:29, 8 ธันวาคม 2554

ไฟล์:Map of Panama - TH - 001.jpg
คอคอดปานามา

คอคอดปานามา (อังกฤษ: Isthmus of Panama) หรือจำเดิมเรียก คอคอดแดเรียน (อังกฤษ: Isthmus of Darien) เป็นแผ่นดินกิ่วคอดกระหนาบด้วยทะเลแคริบเบียนและมหาสมุทรแปซิฟิก อันเชื่อมทวีปอเมริกาเหนือเข้ากับทวีปอเมริกาใต้ และเป็นดินแดนประเทศปานามาและแหล่งคลองปานามา นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางยุทธศาสตร์นานัปการเฉกเช่นเดียวกับคอคอดแห่งอื่น ๆ ด้วย

คอคอดปานาเกิดขึ้นราวสามล้านปีก่อนในยุคไพลโอซีน ซึ่งยังให้มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกแยกกัน และก่อให้เกิดกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรดังกล่าว

ความเป็นมา

ขณะแล่นเรือไปตามฝั่งทะเลแคริบเบียน บัสโก นูเนซ เด บัลโบอา (Vasco Núñez de Balboa) ขุนนางชาวสเปนคนหนึ่ง ได้ฟังชนพื้นเมืองร่ำลือถึง "ทะเลใต้" ครั้นวันที่ 25 กันยายน 1513 เขาก็ได้พบทะเลแปซิฟิก และในปี 1519 นครปานามาก็ก่อตั้งขึ้นริมชุมชนพื้นเมืองกลุ่มน้อยรายหาดแปซิฟิก ต่อมา เมื่อมีการค้นพบประเทศเปรูแล้ว นครปานามาก็เจริญเป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นศูนย์กลางการปกครองในที่สุด ลุปี 1671 เฮนรี มอร์แกน (Henry Morgan) โจรสลัดชาวเวลส์ ล่องเรือมาจากฝั่งแคริบเบียนข้ามคอคอดปานามา แล้วเข้าทำลายนครจนถึงแก่ความพินาศ สมัยต่อมา จึงมีการย้ายนครไปตั้งทางตะวันตกที่คาบสมุทรน้อยแห่งหนึ่ง และในปี 1997 องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติประกาศยกซากนครปานามา ซึ่งบัดนี้เรียก "ปานามาเบียโค" (Panamá Viejo) ขึ้นเป็นมรดกโลก

ชีวภาค

ชีวภาคของปานามาแล้วไปด้วยสัตวชาติ (fauna) และพฤกษชาติ (flora) จากทั้งอเมริกาเหนือและใต้เข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในลักษณะทับซ้อนกัน (overlapping) เช่น มีนกมากกว่าห้าร้อยสายพันธุ์อาศัยอยู่ในท้องที่คอคอด

นอกจากนี้ เพราะมีเทือกเขายาวเหยียดตลอดคอคอด ภูมิอากาศฝั่งแอตแลนติก (ฝั่งทะเลแคริบเบียน) จึงชื้นเป็นปรกติ ขณะที่ฝั่งทะเลแปซิฟิกกลับแห้งและชื้นสลับกันไป ภูมิอากาศร้อนชื้นเช่นว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่นำพาให้สิ่งมีชีวิตหลายสายพันธุ์ที่มีสีสันแจ่มจ้าและร่างกายใหญ่โต ทั้งแมลง งูเงี้ยวเขี้ยวขอ นก ปลา และสัตว์เลื้อยคลานต่าง ๆ แห่เข้ามาอาศัยเป็นอันมากด้วย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น