ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คืบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pawyilee (คุย | ส่วนร่วม)
en Span (unit)
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.2) (โรบอต เพิ่ม: ar, be, be-x-old, ca, cs, fr, it, mk, pl, ru, simple, sw
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


[[หมวดหมู่:หน่วยความยาวไทย]]
[[หมวดหมู่:หน่วยความยาวไทย]]

[[ar:شبر (وحدة طول)]]
[[be:Пядзя]]
[[be-x-old:Пядзя]]
[[ca:Pam]]
[[cs:Píď]]
[[en:Span (unit)]]
[[en:Span (unit)]]
[[fr:Empan]]
[[it:Spanna]]
[[mk:Педа]]
[[pl:Piędź]]
[[ru:Пядь]]
[[simple:Span (unit of length)]]
[[sw:Shubiri]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:53, 27 กันยายน 2554

คืบ เป็นหน่วยวัดความยาวของไทย มีที่มาจากการเหยียดมือออกลงบนพื้นราบอย่างเต็มที่ หนึ่งคืบวัดจากปลายนิ้วโป้ง ไปถึงนิ้วนางหรือนิ้วก้อย [1] แต่เนื่องจากระยะคืบของแต่ละคนไม่เท่ากัน พระราชบัญญัติมาตราชั่ง ตวง วัด พระพุทธศักราช ๒๔๖๖ จึงกำหนดให้ 1 คืบยาวเท่ากับ ¼ ของเมตร (0.25 เมตร) เป็นต้นมา และใช้อักษรย่อว่า ค. [2]

1 คืบ มีค่าเท่ากับ

ในทางกลับกัน

เกรียก

เกรียก เป็นการวัดด้วยมือเช่นเดียวกับคืบ แต่วัดจากนิ้วโป้งไปถึงนิ้วชี้ ระยะเกรียกจึงสั้นกว่าคืบเล็กน้อย ไม่ใช้เป็นมาตราวัด และไม่มีการเทียบในพระราชบัญญัติมาตราชั่ง ตวง วัด [3]

สำนวนที่กล่าวถึง

  • ได้คืบจะเอาศอก - ต้องการจะได้มากกว่าที่ได้มาแล้ว
  • คืบก็ทะเล ศอกก็ทะเล - เมื่อออกทะเลอย่าประมาท ทะเลล้วนมีอันตราย
  • แค่คืบแค่เกรียก - เพียงระยะสั้น ๆ

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน (2008-09-06). "ได้คืบจะเอาศอก". คลังความรู้ ราชบัณฑิตยสถาน. สืบค้นเมื่อ 2009-05-23.
  2. "พระราชบัญญัติมาตราชั่ง ตวง วัด พระพุทธศักราช ๒๔๖๖". ราชกิจจานุเบกษา ๔๐. 27 ธันวาคม พ.ศ. 2466. หน้า 183-218.
  3. กาญจนา นาคสกุล. "คืบ-เกรียก". คลังความรู้ ราชบัณฑิตยสถาน. สืบค้นเมื่อ 2009-05-23.