ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบริโภค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''การบริโภค''' เมื่อกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ อาจหมายถึง ''การรับประทานอาหาร'' แท้จริงแล้วการบริโภคนั้นมีความหมายว่า การใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเอง โดยสิ่งที่มีอยู่นั้นจะเสื่อมสภาพ ร่อยหรอ หรือหมดไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง และอาจต้องหาสิ่งใหม่มาเพิ่มเติมเมื่อต้องการใช้อีก มักใช้คู่กับคำว่า '''การอุปโภค''' หมายถึงการใช้สิ่งที่มีอยู่แต่จะไม่หมดไป หรือสามารถทดแทนได้เรื่อยๆ โดยไม่ต้องไปสรรหา รวมเป็น '''การอุปโภคบริโภค'''
'''การบริโภค''' เมื่อกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ อาจหมายถึง ''การรับประทานอาหาร'' แท้จริงแล้วการบริโภคนั้นมีความหมายว่า การใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเอง โดยสิ่งที่มีอยู่นั้นจะเสื่อมสภาพ ร่อยหรอ หรือหมดไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง และอาจต้องหาสิ่งใหม่มาเพิ่มเติมเมื่อต้องการใช้อีก มักใช้คู่กับคำว่า '''การอุปโภค''' หมายถึงการใช้สิ่งที่มีอยู่แต่จะไม่หมดไป หรือสามารถทดแทนได้เรื่อยๆ โดยไม่ต้องไปสรรหา รวมเป็น '''การอุปโภคบริโภค''' แต่ผู้ที่สามารถทำทั้งการบริโภคและการอุปโภคจะเรียกว่า '''ผู้บริโภค''' เพียงอย่างเดียว


ในทางเศรษฐศาสตร์ สินค้าและบริการสามารถนับเป็น ''สิ่งที่มีอยู่'' ได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าบริการจะเป็นเพียง[[นามธรรม]] แต่บริการก็สามารถเกี่ยวโยงกับ[[รูปธรรม]]อื่นๆ ที่สามารถบริโภคได้ เราจึงพบเห็นคำว่า '''การบริโภคสินค้าและบริการ''' อยู่บ่อยๆ
ในทาง[[เศรษฐศาสตร์]] [[สินค้า]]และ[[บริการ]]สามารถนับเป็น ''สิ่งที่มีอยู่'' ได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าบริการจะเป็นเพียง[[นามธรรม]] แต่บริการก็สามารถเกี่ยวโยงกับ[[รูปธรรม]]อื่นๆ ที่สามารถบริโภคได้ เราจึงพบเห็นคำว่า '''การบริโภคสินค้าและบริการ''' อยู่บ่อยๆ


{{โครง}}
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:40, 1 ธันวาคม 2549

การบริโภค เมื่อกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ อาจหมายถึง การรับประทานอาหาร แท้จริงแล้วการบริโภคนั้นมีความหมายว่า การใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเอง โดยสิ่งที่มีอยู่นั้นจะเสื่อมสภาพ ร่อยหรอ หรือหมดไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง และอาจต้องหาสิ่งใหม่มาเพิ่มเติมเมื่อต้องการใช้อีก มักใช้คู่กับคำว่า การอุปโภค หมายถึงการใช้สิ่งที่มีอยู่แต่จะไม่หมดไป หรือสามารถทดแทนได้เรื่อยๆ โดยไม่ต้องไปสรรหา รวมเป็น การอุปโภคบริโภค แต่ผู้ที่สามารถทำทั้งการบริโภคและการอุปโภคจะเรียกว่า ผู้บริโภค เพียงอย่างเดียว

ในทางเศรษฐศาสตร์ สินค้าและบริการสามารถนับเป็น สิ่งที่มีอยู่ ได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าบริการจะเป็นเพียงนามธรรม แต่บริการก็สามารถเกี่ยวโยงกับรูปธรรมอื่นๆ ที่สามารถบริโภคได้ เราจึงพบเห็นคำว่า การบริโภคสินค้าและบริการ อยู่บ่อยๆ