ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทินจันทรคติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gerakibot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: id:Kalender candra
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''ปฏิทินจันทรคติ''' เป็นคำใช้เรียกรูปแบบการใช้[[ปฏิทิน]]รูปแบบหนึ่ง โดยใช้[[ดิถี]]ของดวงจันทร์เพื่อบอกข้างขึ้นข้างแรมบอกเดือน ซึ่งในปัจจุบันระบบปฏิทินที่ใช้รูปแบบนี้ได้เปลี่ยนมาใช้ในรูปแบบ[[ปฏิทินสุริยจันทรคติ]]แทนที่ โดยส่วนของจันทรคติใช้งานเฉพาะอ้างอิงวันสำคัญทางศาสนา หรือเทศกาลฉลองตามประเพณีดั้งเดิม เช่นใน[[ปฏิทินจีน]] [[ปฏิทินฮิบรู]] [[ปฏิทินฮินดู]]
'''ปฏิทินจันทรคติ''' เป็นคำใช้เรียกรูปแบบการใช้[[ปฏิทิน]]รูปแบบหนึ่ง โดยใช้[[ดิถี]]ของดวงจันทร์เพื่อบอกข้างขึ้นข้างแรมบอกเดือน ซึ่งในปัจจุบันระบบปฏิทินที่ใช้รูปแบบนี้ได้เปลี่ยนมาใช้ในรูปแบบ[[ปฏิทินสุริยจันทรคติ]]แทนที่ โดยส่วนของจันทรคติใช้งานเฉพาะอ้างอิงวันสำคัญทางศาสนา หรือเทศกาลฉลองตามประเพณีดั้งเดิม เช่นใน[[ปฏิทินจีน]] [[ปฏิทินฮิบรู]] [[ปฏิทินฮินดู]]


ปฏิทินจันทรคติในหนึ่งเดือนจะนับตามการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ซึ่งประมาณ 29 วันครึ่ง ซึ่งในหนึ่งปีจะแบ่งเป็น 12 เดือนซึ่งมีทั้งหมด 354 วัน โดยวันจะน้อยกว่า[[ปฏิทินสุริยคติ]] 11 หรือ 12 วัน ซึ่งเมื่อถึงปีที่จำนวนวันที่เกินมาครบประมาณ 30 วัน จะมีการเพิ่มเดือนเข้ามาอีกหนึ่งเดือน ซึ่งทำให้ปีนั้นมี 384 วัน ตัวอย่างเช่นใน[[ปฏิทินจันทรคติไทย]] จะเรียกว่า[[อธิกมาส]] โดยจะเพิ่ม[[เดือน 8]] เข้ามาอีกหนึ่งเดือนซึ่งเรียกว่า เดือน 8/8 (หรือ 8-8) โดยในปีนั้นจะมี 13 เดือน
ปฏิทินจันทรคติในหนึ่งเดือนจะนับตามการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ซึ่งประมาณ 29 วันครึ่ง ซึ่งในหนึ่งปีจะแบ่งเป็น 12 เดือนซึ่งมีทั้งหมด 354 วัน โดยวันจะน้อยกว่า[[ปฏิทินสุริยคติ]] 10 วันเศษ ซึ่งเมื่อถึงปีที่จำนวนวันที่เกินมาครบประมาณ 29.5 วันเศษ จะมีการเพิ่มเดือนเข้ามาอีกหนึ่งเดือน ซึ่งทำให้ปีนั้นมี 384 วัน ตัวอย่างเช่นใน[[ปฏิทินจันทรคติไทย]] จะเรียกว่า[[อธิกมาส]] โดยจะเพิ่ม[[เดือน ]] เข้ามาอีกหนึ่งเดือนซึ่งเรียกว่า เดือน / (หรือ -๘ หรือ ๘๘ ก็เขียน) โดยในปีนั้นจะมี 13 เดือน


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:03, 28 กุมภาพันธ์ 2553

ปฏิทินจันทรคติ เป็นคำใช้เรียกรูปแบบการใช้ปฏิทินรูปแบบหนึ่ง โดยใช้ดิถีของดวงจันทร์เพื่อบอกข้างขึ้นข้างแรมบอกเดือน ซึ่งในปัจจุบันระบบปฏิทินที่ใช้รูปแบบนี้ได้เปลี่ยนมาใช้ในรูปแบบปฏิทินสุริยจันทรคติแทนที่ โดยส่วนของจันทรคติใช้งานเฉพาะอ้างอิงวันสำคัญทางศาสนา หรือเทศกาลฉลองตามประเพณีดั้งเดิม เช่นในปฏิทินจีน ปฏิทินฮิบรู ปฏิทินฮินดู

ปฏิทินจันทรคติในหนึ่งเดือนจะนับตามการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ซึ่งประมาณ 29 วันครึ่ง ซึ่งในหนึ่งปีจะแบ่งเป็น 12 เดือนซึ่งมีทั้งหมด 354 วัน โดยวันจะน้อยกว่าปฏิทินสุริยคติ 10 วันเศษ ซึ่งเมื่อถึงปีที่จำนวนวันที่เกินมาครบประมาณ 29.5 วันเศษ จะมีการเพิ่มเดือนเข้ามาอีกหนึ่งเดือน ซึ่งทำให้ปีนั้นมี 384 วัน ตัวอย่างเช่นในปฏิทินจันทรคติไทย จะเรียกว่าอธิกมาส โดยจะเพิ่มเดือน ๘ เข้ามาอีกหนึ่งเดือนซึ่งเรียกว่า เดือน ๘/๘ (หรือ ๘-๘ หรือ ๘๘ ก็เขียน) โดยในปีนั้นจะมี 13 เดือน

อ้างอิง

ดูเพิ่ม