ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงพยาบาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ro:Spital
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


'''โรงพยาบาล''' หรือ '''สถานพยาบาล''' หรือ '''ศูนย์การแพทย์''' เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้าน[[สุขภาพ]] โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือ[[โรค]]ต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ
'''โรงพยาบาล''' หรือ '''สถานพยาบาล''' หรือ '''ศูนย์การแพทย์''' เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้าน[[สุขภาพ]] โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือ[[โรค]]ต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ

โรงพยาบาล
โรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์ เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านสุขภาพ โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ

ประเภทของโรงพยาบาล
กระทรวงสาธารณสุข ได้แบ่งประเภทของโรงพยาบาลออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. โรงพยาบาลมหาราช เป็นโรงพยาบาลประจำภูมิภาคขนาดใหญ่พิเศษ มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิขั้นสูง มีจำนวนเพียง 500 เตียงขึ้นไป ในประเทศไทยมี 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ) โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช และโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
2. โรงพยาบาลศูนย์ เป็นโรงพยาบาลประจำภูมิภาคขนาดใหญ่ มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิจนถึงตติยภูมิขั้นสูง มีจำนวนเตียง 500 เตียงขึ้นไป เช่น โรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลลำปาง เป็นต้น
3. โรงพยาบาลทั่วไป เป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดทั่วไป หรือประจำอำเภอขนาดใหญ่ มีขีดความสามารถระดับทุติยภูมิจนถึงทุติยภูมิขั้นสูง มี 2 ขนาด คือ 150-250 เตียง และขนาด 250-500 เตียง เช่น โรงพยาบาลน่าน โรงพยาบาลพิจิตร โรงพยาบาลแม่สอด โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก เป็นต้น
4. โรงพยาบาลชุมชน เป็นโรงพยาบาลประจำอำเภอทั่วไป มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิจนถึงทุติยภูมิ แบ่งเป็น 5 ขนาด คือ
1. ขนาด 10-30 เตียง
2. ขนาด 30-60 เตียง
3. ขนาด 60-90 เตียง
4. ขนาด 90-120 เตียง
5. ขนาด 120-150 เตียง



== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:58, 16 กุมภาพันธ์ 2553

ห้องพยาบาลในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเดนมาร์ก

โรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์ เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านสุขภาพ โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ

โรงพยาบาล โรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์ เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านสุขภาพ โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ

ประเภทของโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข ได้แบ่งประเภทของโรงพยาบาลออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. โรงพยาบาลมหาราช เป็นโรงพยาบาลประจำภูมิภาคขนาดใหญ่พิเศษ มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิขั้นสูง มีจำนวนเพียง 500 เตียงขึ้นไป ในประเทศไทยมี 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ) โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช และโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 2. โรงพยาบาลศูนย์ เป็นโรงพยาบาลประจำภูมิภาคขนาดใหญ่ มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิจนถึงตติยภูมิขั้นสูง มีจำนวนเตียง 500 เตียงขึ้นไป เช่น โรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลลำปาง เป็นต้น 3. โรงพยาบาลทั่วไป เป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดทั่วไป หรือประจำอำเภอขนาดใหญ่ มีขีดความสามารถระดับทุติยภูมิจนถึงทุติยภูมิขั้นสูง มี 2 ขนาด คือ 150-250 เตียง และขนาด 250-500 เตียง เช่น โรงพยาบาลน่าน โรงพยาบาลพิจิตร โรงพยาบาลแม่สอด โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก เป็นต้น 4. โรงพยาบาลชุมชน เป็นโรงพยาบาลประจำอำเภอทั่วไป มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิจนถึงทุติยภูมิ แบ่งเป็น 5 ขนาด คือ 1. ขนาด 10-30 เตียง 2. ขนาด 30-60 เตียง 3. ขนาด 60-90 เตียง 4. ขนาด 90-120 เตียง 5. ขนาด 120-150 เตียง


ดูเพิ่ม