ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเติบโตทางเศรษฐกิจ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{เศรษฐศาสตร์}}

'''ความเติบโตทางเศรษฐกิจ''' หมายถึงการเพิ่มขึ้นในมูลค่าตลาดของสินค้าและบริการเมื่อปรับผลจากเงินเฟ้อแล้วที่ผลิตได้ในระบบเศรษฐกิจชั่วขณะหนึ่ง มักจะวัดในรูปของอัตราการเพิ่มขึ้นในรูปของร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้จริง หรือ จีดีพีที่แท้จริง

หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนของผลผลิตต่อวัตถุดิบที่ใช้เพื่อการผลิต และเป็นการเพิ่มขึ้นของประสิทธิผลของแรงงานและการเพิ่มประสิทธิผลของปัจจัยการผลิต สมถรรนะในการผลิตของแรงงานจะเพิ่มขึ้นโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยการศึกษาอย่างเป็นระบบหรือการอบรม สมถรรนะในการผลิตของทุนจะเพิ่มขึ้นด้วยการปรับปรุง[[เทคโนโลยี]]การผลิตและการใช้ปัจจัยทุนเข้มข้นมากขึ้น การขยายตัวทาง[[เศรษฐกิจ]]ยิ่งเร็วเท่าใดแสดงว่ามีการเสียสละทรัพยากรเพื่อการบริโภคในปัจจุบันเพื่อนำไปใช้ในการลงทุนยิ่งมาก

== ทฤษฎีการเจริญเติบโต ==
== ทฤษฎีการเจริญเติบโต ==
=== ทฤษฎีมัลธัส ===
=== ทฤษฎีมัลธัส ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:21, 27 มกราคม 2565

ทฤษฎีการเจริญเติบโต

ทฤษฎีมัลธัส

ทฤษฎีมัลธัสนำเสนอว่าในประวัติศาสตร์ของมนุษย์โดยส่วนใหญ่แล้ว ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้เกิดจำนวนประชากรมากขึ้น แต่ไม่มีผลต่อรายได้ต่อหน่วยในระยะยาว

ทฤษฎีการเจริญเติบโตแบบคลาสสิค

ในเศรษฐศาสตร์แบบคลาสสิค (รีคาร์โด) ทฤษฎีการผลิตและทฤษฎีการเจริญเติบโตอิงมากจากทฤษฎีหรือกฏว่าด้วยสัดส่วนที่แปรเปลี่ยนได้

ทฤษฎีหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากในทศวรรษที่ 1940 คือแบบจำลองการดันไปข้างหน้าขนาดใหญ่ แนวคิดนี้ได้กลับขึ้นมาใช้อีกครั้งและมีการคิดที่เป็นระบบมากขึ้น ในปลายทศวรรษ 1980 โดย เควิน เมอร์ฟีย์ อันเดร เชล์เฟอร์ และโรเบิร์ต วิซช์นี่

แบบจำลองโซโลว์-สวอน