ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปยุโรป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แทนที่เนื้อหาด้วย "ยุโรบเป็นดินแดนที่สุดยอดไม่มีผู้นำแย่ หมวดหมู่:..."
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ยุโรบเป็นดินแดนที่สุดยอดไม่มีผู้นำแย่
{{about|ทวีป|ความหมายอื่น|ยุโรป (แก้ความกำกวม)}}

{{กล่องข้อมูล ทวีป
| ชื่อ = ยุโรป<br />Europe
| ภาพ = [[ไฟล์:Europe orthographic Caucasus Urals boundary (with borders).svg|220px]]
| พื้นที่ = 10,180,000 ตารางกิโลเมตร<br>(อันดับที่ 6){{ref label|footnote_ก|ก}}
| ประชากร = {{UN_Population|Europe}} คน<br>({{UN_Population|Year}}; [[รายชื่อทวีปเรียงตามจำนวนประชากร|อันดับที่ 3]]){{UN_Population|ref}}
| ความหนาแน่น = 72.9 คน/ตร.กม.<br>(อันดับที่ 2)
| เดมะนิม = [[กลุ่มชาติพันธุ์ในทวีปยุโรป|ชาวยุโรป]] (European)
| ประเทศ = [[รายชื่อประเทศและดินแดนในทวีปยุโรป|50 ประเทศ]]<br /> (รับรองบางส่วน [[รายชื่อประเทศและดินแดนในทวีปยุโรป#รัฐที่ได้รับการรับรองบางส่วน|6 แห่ง]])
| ดินแดน = [[รายชื่อประเทศและดินแดนในทวีปยุโรป#ดินแดน|6 ดินแดน]]
| ภาษา = [[ภาษาในทวีปยุโรป|ภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุด]]: {{hlist
<!--หมายเหตุ: รายชื่อดังต่อไปนี้แสดงภาษาที่มีจำนวนผู้พูดเป็นภาษาแม่ (เฉพาะ L1) มากที่สุด 10 ภาษาแรก (ตามบทความ[[ภาษาในทวีปยุโรป#รายชื่อภาษา]])-->
|[[ภาษารัสเซีย|รัสเซีย]]
|[[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]
|[[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]
|[[ภาษาอิตาลี|อิตาลี]]
|[[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]
|[[ภาษาโปแลนด์|โปแลนด์]]
|[[ภาษาสเปน|สเปน]]
|[[ภาษายูเครน|ยูเครน]]
|[[ภาษาโรมาเนีย|โรมาเนีย]]
|[[ภาษาดัตช์|ดัตช์]]
}}
| เวลา = [[UTC−01:00|UTC−1]]<!--อะโซร์ส--> ถึง [[UTC+05:00|UTC+5]]<!--รัสเซียและคาซัคสถาน-->
| เมือง = [[รายชื่อชุมชนเมืองในทวีปยุโรป|ชุมชนเมืองที่ใหญ่ที่สุด]]<ref name="UN WUP 2016">{{cite web|title=The World's Cities in 2016|url=http://www.un.org/en/development/desa/population/publications/pdf/urbanization/the_worlds_cities_in_2016_data_booklet.pdf|publisher=[[สหประชาชาติ]]|page=11|date=2016}}</ref>:<!--
-->{{hlist
<!--หมายเหตุ: รายชื่อดังต่อไปนี้แสดงเมืองที่มีจำนวนประชากรในเขตชุมชนเมืองมากที่สุด 10 อันดับแรก การจัดลำดับควรใช้ข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงเดียวกัน-->
<!--1-->|[[อิสตันบูล]]<!--14.4 ล้าน-->{{ref label|footnote_ข|ข}}
<!--2-->|[[มอสโก]]<!--12.3 ล้าน-->
<!--3-->|[[ปารีส]]<!--10.9 ล้าน-->
<!--4-->|[[ลอนดอน]]<!--10.4 ล้าน-->
<!--5-->|[[มาดริด]]<!--6.3 ล้าน-->
<!--6-->| [[บาร์เซโลนา]]<!--5.3 ล้าน-->
<!--7-->|[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]<!--5.0 ล้าน-->
<!--8-->|[[โรม]]<!--3.7 ล้าน-->
<!--9-->|[[เบอร์ลิน]]<!--3.6 ล้าน-->
<!--10-->|[[มิลาน]]<!--3.1 ล้าน-->
}}
|footnotes = {{unbulleted list|style=font-size:90%;
|ก. {{note|footnote_ก}} สำหรับประเทศข้ามทวีป (transcontinental country) จะนับพื้นที่เฉพาะส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป{{cref2|n|1}}
|ข. {{note|footnote_ข}} [[อิสตันบูล]]ถือเป็นเมืองข้ามทวีป (เอเชียและยุโรป) ซึ่งประชากรเมืองราว 2 ใน 3 อาศัยอยู่ในฝั่งทวีปยุโรป}}
}}

'''ทวีปยุโรป''' (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") เป็น[[ทวีป]]ที่ตั้งอยู่ใน[[ซีกโลกเหนือ]]และส่วนมากอยู่ใน[[ซีกโลกตะวันออก]] ทางเหนือติดกับ[[มหาสมุทรอาร์กติก]] ทางใต้ติดกับ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ทางตะวันออกติดกับ[[ทวีปเอเชีย]] ทางตะวันตกติดกับ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] เป็นอนุทวีปทางด้านตะวันตกของ[[ทวีปยูเรเชีย]]

ตั้งแต่ประมาณ 1850 การ[[Borders of the continents#Europe and Asia|แบ่งยุโรปกับเอเชีย]]มักยึดตาม[[สันปันน้ำ]]ของ[[เทือกเขายูรัล]]และ[[เทือกเขาคอเคซัส]] [[ แม่น้ำยูรัล]] [[ทะเลแคสเปียน]] [[ทะเลดำ]]และ[[ช่องแคบตุรกี]]<ref name="NatlGeoAtlas">{{Cite book|title=National Geographic Atlas of the World|edition=7th|year=1999|location=Washington, DC|publisher=[[National Geographic Society|National Geographic]]|isbn=0-7922-7528-4}} "Europe" (pp. 68–69) ; "Asia" (pp. 90–91) : "A commonly accepted division between Asia and Europe&nbsp;... is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles."</ref> แม้คำว่า "ทวีป" จะหมายถึง[[ภูมิศาสตร์กายภาพ]]ของผืนดินขนาดใหญ่ที่ไม่มีการแบ่งอย่างแน่นอนและชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณชายแดนยุโรปกับเอเชียของยูเรเชียนั้นแสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่งเขตแดน เส้นแบ่งเขตแดนของทวีปไม่ได้แบ่งตามเส้นแบ่งเขตแดนทางการเมืองทำให้[[ตุรกี]] [[รัสเซีย]]และ[[คาซัคสถาน]]เป็น[[ประเทศข้ามทวีป]]

ยุโรปมีพื้นที่ประมาณ 10,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2% ของผิวโลก (6.8% ของผืนดิน) ในทางการเมือง[[รายชื่อรัฐอธิปไตยและเขตปกครองในทวีปทวีปยุโรป|ยุโรปมีรัฐอธิปไตยและเขตปกครองกว่า 50 รัฐ]] ซึ่งมี[[รัสเซีย]]เป็นประเทศที่ใหญ่และมีประชากรมากที่สุด โดยกินพื้นที่ทวีปยุโรป 39% และมีประชากรทั้งหมด 15% ของทวีป ใน {{UN_Population|Year}} ยุโรปมีประชากรประมาณ {{#expr:{{replace|{{UN_Population|Europe}}|,||}}/1e6 round 0}}&nbsp;ล้านคน{{UN_Population|ref}} (หรือ 11% ของ[[ประชากรโลก]]) [[ภูมิอากาศยุโรป]]ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติกทำให้ภายในทวีปจะมีอากาศหนาวจัดในฤดูหนาวและร้อนในฤดูร้อนแม้ใน[[ละติจูด]]เดียวกันในเอเชียกับอเมริกาเหนือจะมีสภาพอากาศที่รุนแรง ยุโรปภาคพื้นทวีปจะเห็นความแตกต่างตามฤดูกาลได้ชัดเจนกว่าบริเวณชายฝั่ง

{{TOC limit|3}}

== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์ยุโรป}}
ทวีปยุโรปโดยเฉพาะ[[กรีซโบราณ]]เป็นแหล่งกำเนิด[[วัฒนธรรมตะวันตก]]<ref>{{harvnb|Lewis|Wigen|1997|page=226}}</ref><ref>{{cite book|author=Kim Covert|title=Ancient Greece: Birthplace of Democracy|url=https://books.google.com/books?id=KVMYJNvUiYkC&pg=PP5|date=1 July 2011|publisher=Capstone|isbn=978-1-4296-6831-6|page=5|quote=Ancient Greece is often called the cradle of western civilization. ... Ideas from literature and science also have their roots in ancient Greece.}}</ref><ref name="Duchesne2011">{{cite book|author=Ricardo Duchesne|title=The Uniqueness of Western Civilization|url=https://books.google.com/books?id=pWmDPzPo0XAC&pg=PA297|date=7 February 2011|publisher=Brill|isbn=90-04-19248-4|page=297|quote=The list of books which have celebrated Greece as the “cradle” of the West is endless; two more examples are Charles Freeman's The Greek Achievement: The Foundation of the Western World (1999) and Bruce Thornton's Greek Ways: How the Greeks Created Western Civilization (2000)}}</ref> การล่มสลายของ[[จักรวรรดิโรมันตะวันตก]]ใน ค.ศ 476 และ[[สมัยการย้ายถิ่น]]ช่วงต่อมา เป็นจุดจบของ[[สมัยโบราณ]]และเป็นจุดเริ่มต้นของ[[สมัยกลาง]] [[มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]] [[ยุคแห่งการสำรวจ]] [[Renaissance art|ศิลปะ]]และ[[Renaissance science|วิทยาศาสตร์]]อันเป็นเป็นรากฐานนำไปสู่[[สมัยใหม่]] ตั้งแต่[[ยุคแห่งการสำรวจ]]เป็นต้นมานั้นยุโรปมีบทบาทสำคัญระดับโลกในด้านเศรษฐกิจ ระหว่างศตวรรษที่ 16 ถึง 20 ประเทศในยุโรป[[สมัยอาณานิคมยุโรป|มีอำนาจปกครอง]]หลาย ๆ ครั้งใน[[ทวีปอเมริกา]] เกือบทั้งหมดของ[[แอฟริกา]]และ[[โอเชียเนีย]]ร่วมถึงพื้นที่ส่วนใหญ่ของ[[เอเชีย]]

[[ยุคเรืองปัญญา]]หลังจาก[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และ[[สงครามนโปเลียน]]ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรม การเมืองและเศรษฐกิจในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ถึงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19 [[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]ใน[[สหราชอาณาจักร]]ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป็นอย่างมากใน[[ยุโรปตะวันตก]]และขยายไปทั่วทั้งโลกในเวลาต่อมา [[สงครามโลก]]ทั้ง 2 ครั้งมีสมรภูมิส่วนใหญ่อยู่ในทวีปยุโรปนั้น ทำให้ช่วงกลางศตวรรษที่ 20 [[สหภาพโซเวียต]]และ[[สหรัฐ]]ขึ้นมามีอำนาจในขณะที่ประเทศยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่มีอำนาจลดลง<ref name="natgeo 534">National Geographic, 534.</ref> ระหว่าง[[สงครามเย็น]]ยุโรปถูกแบ่งด้วย[[ม่านเหล็ก]]ระหว่าง[[เนโท]]ทางตะวันตกกับ[[กติกาสัญญาวอร์ซอ]]ในตะวันออก จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลัง[[การปฏิวัติ ค.ศ. 1989]]และ[[กำแพงเบอร์ลิน#การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน|การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน]]

ใน ค.ศ. 1949 [[สภายุโรป]]ก่อตั้งขึ้นตามคำปราศรัยของ [[เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิล]] ซึ่งมีแนวคิดในการรวมยุโรปเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน ทุกประเทศในยุโรปเป็นสมาชิกยกเว้น[[เบลารุส]] [[คาซัคสถาน]]และ[[นครรัฐวาติกัน]] [[การบูรณาการยุโรป]]อื่น ๆ อย่างการรวมกลุ่มโดยบางประเทศนำไปสู่การก่อตั้ง[[สหภาพยุโรป]] (อียู) ซึ่งเป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมืองซึ่งมีรูปแบบ[[สมาพันธรัฐ]]และ[[สหพันธรัฐ]]<ref>{{cite web|url=http://www.ies.ee/iesp/No11/articles/03_Gabriel_Hazak.pdf|title=The European union—a federation or a confederation?|publisher=}}</ref> สหภาพยุโรปก่อตั้งขึ้นในยุโรปตะวันตกแต่เริ่มเพิ่มสมาชิกในยุโรปตะวันออกตั้งแต่[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]]ในปี 1991 ประเทศที่เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปส่วนใหญ่ใช้สกุลเงิน[[ยูโร]]ซึ่งชาวยุโรปนิยมใช้กันทั่วไป; และใน[[เขตเชงเก้น]]ของอียูจะยกเลิกการควบคุมชายแดนและการอพยพระหว่างประเทศสมาชิก [[เพลงประจำสหภาพยุโรป]]คือ "[[ปีติศังสกานท์]]"และมี[[วันยุโรป]]เพื่อการเฉลิมฉลองสันติภาพและเอกภาพประจำปีในทวีปยุโรป

== ประเทศ ==
{{บทความหลัก|ประเทศในทวีปยุโรป}}

{| class="wikitable sortable"
|-
! ประเทศ
! เมืองหลวง
! ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)
! ประชากร ({{UN Population|Year}}){{UN Population|ref}}
|-
| {{flagicon|Greece}} [[ประเทศกรีซ|กรีซ]]
| [[เอเธนส์]]
| align="right" | 130,463
| align="right" | {{UN Population|Greece}}
|-
| {{flagicon|Croatia}} [[ประเทศโครเอเชีย|โครเอเชีย]]
| [[ซาเกร็บ]]
| align="right" | 55,882
| align="right" | {{UN Population|Croatia}}
|-
| {{flagicon|Czech Republic}} [[ประเทศเช็กเกีย|เช็กเกีย]]
| [[ปราก]]
| align="right" | 78,864
| align="right" | {{UN Population|Czechia}}
|-
| {{flagicon|San Marino}} [[ประเทศซานมารีโน|ซานมารีโน]]
| [[ซานมารีโน]]
| align="right" | 61
| align="right" | {{UN Population|San Marino}}
|-
| {{flagicon|Serbia}} [[ประเทศเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]]
| [[เบลเกรด]]
| align="right" | 77,474
| align="right" | {{UN Population|Serbia}}
|-
| {{flagicon|Denmark}} [[ประเทศเดนมาร์ก|เดนมาร์ก]]
| [[โคเปนเฮเกน]]
| align="right" | 42,593
| align="right" | {{UN Population|Denmark}}
|-
| {{flagicon|Norway}} [[ประเทศนอร์เวย์|นอร์เวย์]]
| [[ออสโล]]
| align="right" | 320,466
| align="right" | {{UN Population|Norway}}
|-
| {{flagicon|Netherlands}} [[ประเทศเนเธอร์แลนด์|เนเธอร์แลนด์]]
| [[อัมสเตอร์ดัม]]
| align="right" | 41,019
| align="right" | {{UN Population|Netherlands}}
|-
| {{flagicon|Bosnia and Herzegovina}} [[ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา|บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา]]
| [[ซาราเยโว]]
| align="right" | 50,537
| align="right" | {{UN Population|Bosnia and Herzegovina}}
|-
| {{flagicon|Bulgaria}} [[ประเทศบัลแกเรีย|บัลแกเรีย]]
| [[โซเฟีย]]
| align="right" | 109,627
| align="right" | {{UN Population|Bulgaria}}
|-
| {{flagicon|Belgium}} [[ประเทศเบลเยียม|เบลเยียม]]
| [[บรัสเซลส์]]
| align="right" | 30,164
| align="right" | {{UN Population|Belgium}}
|-
| {{flagicon|Belarus}} [[ประเทศเบลารุส|เบลารุส]]
| [[มินสค์]]
| align="right" | 205,194
| align="right" | {{UN Population|Belarus}}
|-
| {{flagicon|Portugal}} [[ประเทศโปรตุเกส|โปรตุเกส]]
| [[ลิสบอน]]
| align="right" | 91,320
| align="right" | {{UN Population|Portugal}}
|-
| {{flagicon|Poland}} [[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]]
| [[วอร์ซอ]]
| align="right" | 312,056
| align="right" | {{UN Population|Poland}}
|-
| {{flagicon|France}} [[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]
| [[ปารีส]]
| align="right" | 537,666
| align="right" | {{UN Population|France}}
|-
| {{flagicon|Finland}} [[ประเทศฟินแลนด์|ฟินแลนด์]]
| [[เฮลซิงกิ]]
| align="right" | 334,288
| align="right" | {{UN Population|Finland}}
|-
| {{flagicon|Montenegro}} [[ประเทศมอนเตเนโกร|มอนเตเนโกร]]
| [[พอดกอรีตซา]]
| align="right" | 91,320
| align="right" | {{UN Population|Montenegro}}
|-
| {{flagicon|Moldova}} [[ประเทศมอลโดวา|มอลโดวา]]
| [[คีชีเนา]]
| align="right" | 13,812
| align="right" | {{UN Population|Republic of Moldova}}
|-
| {{flagicon|Malta}} [[ประเทศมอลตา|มอลตา]]
| [[วัลเลตตา]]
| align="right" | 312
| align="right" | {{UN Population|Malta}}
|-
| {{flagicon|North Macedonia}} [[ประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย|นอร์ทมาซิโดเนีย]]
| [[สโกเปีย]]
| align="right" | 25,416
| align="right" | {{UN Population|TFYR Macedonia}}
|-
| {{flagicon|Monaco}} [[ประเทศโมนาโก|โมนาโก]]
| [[โมนาโก]]
| align="right" | 1.5
| align="right" | {{UN Population|Monaco}}
|-
| {{flagicon|Ukraine}} [[ประเทศยูเครน|ยูเครน]]
| [[เคียฟ]]
| align="right" | 597,007
| align="right" | {{UN Population|Ukraine}}
|-
| {{flagicon|Germany}} [[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]
| [[เบอร์ลิน]]
| align="right" | 352,914
| align="right" | {{UN Population|Germany}}
|-
| {{flagicon|Russia}} [[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]]
| [[มอสโก]]
| align="right" | '''16,877,291'''
| align="right" | '''{{UN Population|Russian Federation}}'''
|-
| {{flagicon|Romania}} [[ประเทศโรมาเนีย|โรมาเนีย]]
| [[บูคาเรสต์]]
| align="right" | 234,749
| align="right" | {{UN Population|Romania}}
|-
| {{flagicon|Luxembourg}} [[ประเทศลักเซมเบิร์ก|ลักเซมเบิร์ก]]
| [[ลักเซมเบิร์ก]]
| align="right" | 2,555
| align="right" | {{UN Population|Luxembourg}}
|-
| {{flagicon|Latvia}} [[ประเทศลัตเวีย|ลัตเวีย]]
| [[รีกา]]
| align="right" | 63,851
| align="right" | {{UN Population|Latvia}}
|-
| {{flagicon|Liechtenstein}} [[ประเทศลิกเตนสไตน์|ลิกเตนสไตน์]]
| [[วาดุซ]]
| align="right" | 160
| align="right" | {{UN Population|Liechtenstein}}
|-
| {{flagicon|Lithuania}} [[ประเทศลิทัวเนีย|ลิทัวเนีย]]
| [[วิลนีอุส]]
| align="right" | 64,445
| align="right" | {{UN Population|Lithuania}}
|-
| {{flagicon|Vatican City}} [[นครรัฐวาติกัน]]
| [[วาติกัน]]
| align="right" | 0.44
| align="right" | {{UN Population|Holy See}}
|-
| {{flagicon|Spain}} [[ประเทศสเปน|สเปน]]
| [[มาดริด]]
| align="right" | 498,936
| align="right" | {{UN Population|Spain}}
|-
| {{flagicon|Slovakia}} [[ประเทศสโลวาเกีย|สโลวาเกีย]]
| [[บราติสลาวา]]
| align="right" | 49,036
| align="right" | {{UN Population|Slovakia}}
|-
| {{flagicon|Slovenia}} [[ประเทศสโลวีเนีย|สโลวีเนีย]]
| [[ลูบลิยานา]]
| align="right" | 19,761
| align="right" | {{UN Population|Slovenia}}
|-
| {{flagicon|Switzerland}} [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์]]
| [[แบร์น]]
| align="right" | 40,809
| align="right" | {{UN Population|Switzerland}}
|-
| {{flagicon|Sweden}} [[ประเทศสวีเดน|สวีเดน]]
| [[สต็อกโฮล์ม]]
| align="right" | 444,754
| align="right" | {{UN Population|Sweden}}
|-
| {{flagicon|United Kingdom}} [[สหราชอาณาจักร]]
| [[ลอนดอน]]
| align="right" | 241,275
| align="right" | {{UN Population|United Kingdom}}
|-
| {{flagicon|Austria}} [[ประเทศออสเตรีย|ออสเตรีย]]
| [[เวียนนา]]
| align="right" | 82,885
| align="right" | {{UN Population|Austria}}
|-
| {{flagicon|Andorra}} [[ประเทศอันดอร์รา|อันดอร์รา]]
| [[อันดอร์ราลาเวลลา]]
| align="right" | 448
| align="right" | {{UN Population|Andorra}}
|-
| {{flagicon|Italy}} [[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]]
| [[โรม]]
| align="right" | 297,789
| align="right" | {{UN Population|Italy}}
|-
| {{flagicon|Estonia}} [[ประเทศเอสโตเนีย|เอสโตเนีย]]
| [[ทาลลินน์]]
| align="right" | 44,577
| align="right" | {{UN Population|Estonia}}
|-
| {{flagicon|Albania}} [[ประเทศแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]]
| [[ติรานา]]
| align="right" | 28,416
| align="right" | {{UN Population|Albania}}
|-
| {{flagicon|Iceland}} [[ประเทศไอซ์แลนด์|ไอซ์แลนด์]]
| [[เรคยาวิก]]
| align="right" | 101,809
| align="right" | {{UN Population|Iceland}}
|-
| {{flagicon|Ireland}} [[ประเทศไอร์แลนด์|ไอร์แลนด์]]
| [[ดับลิน]]
| align="right" | 69,471
| align="right" | {{UN Population|Ireland}}
|-
| {{flagicon|Hungary}} [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]]
| [[บูดาเปสต์]]
| align="right" | 91,953
| align="right" | {{UN Population|Hungary}}
|-
| {{flagicon|Kosovo}} [[ประเทศคอซอวอ|คอซอวอ]]
| [[พริสตีนา]]
| align="right" | 10,887
| align="right" | 1,783,531
|-
! colspan = 2| ทวีปยุโรป
! 10,600,000 {{ยก|1}}
! {{UN Population|Europe}} {{ยก|2}}
|}

* {{ยก|1}} ไม่รวมรัสเซียตะวันออกไกล
* {{ยก|2}} ข้อมูลการประเมินของสหประชาชาติ {{UN Population|Year}}

== ภูมิศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ภูมิศาสตร์ยุโรป}}

=== ภูมิประเทศ ===
[[ไฟล์:Europe satellite orthographic.jpg|thumb|250px|แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป]]
ลักษณะภูมิประเทศที่สำคัญของทวีปยุโรป ได้แก่ ทางตะวันตกของ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] ทางตะวันออกของ[[เกาะอังกฤษ]] [[เบลเยียม]] [[เนเธอร์แลนด์]] และ[[ประเทศเดนมาร์ก|เดนมาร์ก]]
# '''เขตที่ราบสูง''' ได้แก่ ที่ราบที่อยู่ระหว่างที่ราบกับเขตเทือกเขา ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ทางตอนกลางของทวีป มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 25 ของทวีปยุโรป ได้แก่ บริเวณภาคตะวันออกของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] ภาคใต้ของ[[เยอรมนี]]และ[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]]
# '''เขตเทือกเขา'''แบ่งออกเป็น 2 เขตใหญ่ ๆ คือ
:* เทือกเขาภาคเหนือ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือกับตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ เทือกเขาแถบ[[คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย]] ใน[[สกอตแลนด์]] [[เวลส์]] และเกาะ[[ไอซ์แลนด์]] ซึ่งมีขนาดเตี้ยและเกิดขึ้นมานานแล้ว
:* เทือกเขาภาคใต้ เป็นแนวเทือกเขาที่วางตัวในแนวตะวันออกกับตะวันตก ซึ่งเทือกเขานี้มีขนาดสูงและยังเป็นเขตที่เปลือกโลกยังไม่สงบดี จึงเกิดแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟ

=== ภูมิอากาศ ===
เขตอากาศของทวีปยุโรป สามารถแบ่งเป็น 7 เขตดังนี้

# '''เขตภูมิอากาศแบบทุนดรา''' หรืออากาศแบบขั้วโลก จะเป็นเขตอากาศที่หนาวเย็นจัดตลอดทั้งปี ส่วนฤดูร้อนสั้นประมาณ 1-2 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยของเขตนี้ เฉลี่ยทั้งปีไม่เกิน 10 [[องศาเซลเซียส]] พืชพรรณธรรมชาติได้แก่ [[มอสส์]] [[ตะไคร่น้ำ]] เขตอากาศทุนดราของทวีปยุโรป ได้แก่ [[คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย|บริเวณคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย]]และบริเวณทางเหนือสุดของ[[ประเทศรัสเซีย]]
# '''เขตอากาศแบบกึ่งขั้วโลกหรือไทกา''' ลักษณะอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีอากาศหนาวจัดในช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 6 [[องศาเซลเซียส]] ฤดูร้อนมีระยะเวลายาวกว่าเขตภูมิอากาศแบบทุนดรา ปริมาณน้ำฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 500-1,000 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติ คือ ป่าสนหรือป่าไทกา บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ คือ [[ประเทศนอร์เวย์|นอร์เวย์]] [[ประเทศสวีเดน|สวีเดน]] และ[[ประเทศฟินแลนด์|ฟินแลนด์]]
# '''เขตอากาศอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป''' ลักษณะอากาศของเขตนี้ คือ ฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็น เพราะอยู่ลึกเข้าไปในใจกลางทวีป จึงไม่ค่อยได้รับอิทธิพลจาก[[มหาสมุทร]] พืชพรรณธรรมชาติได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบและไม่ผลัดใบผสมกัน ส่วนบริเวณที่มีฝนตกน้อย พืชพรรณธรรมชาติจะเป็นทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ คือ ดินแดนของ[[ประเทศโปแลนด์]] [[เช็กเกีย]] [[สโลวาเกีย]] [[ประเทศเอสโตเนีย|เอสโตเนีย]] และ[[ประเทศลัตเวีย|ลัตเวีย]]
# '''เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก''' ลักษณะของอากาศในเขตนี้ คือ ฤดูร้อนอากาศเย็นสบาย ฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัด เพราะเขตนี้มีที่ตั้งอยู่ใกล้มหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจาก[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] ทำให้เขตนี้มีอากาศอบอุ่น ชุ่มชื้น ฝนตกสม่ำเสมอตลอดทั้งปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยของทั้งปีอยู่ที่ 750-1,500 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้เขตอบอุ่นชนิดป่าไม้ผลัดใบผสมกับป่าสน บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ ครอบคลุมบริเวณของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] [[เบลเยียม]] [[เนเธอร์แลนด์]] [[ประเทศเดนมาร์ก|เดนมาร์ก]] [[เยอรมนี]] [[สหราชอาณาจักร]] และทางตอนใต้ของ[[ประเทศนอร์เวย์|นอร์เวย์]]และ[[ประเทศสวีเดน|สวีเดน]]
# '''เขตภูมิอากาศอบอุ่นชื้น''' ลักษณะอากาศของเขตนี้ คือ อากาศอบอุ่น ฤดูร้อนอากาศร้อน มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปีประมาณ 500-1,000 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม้เขตอบอุ่นหรือทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น บริเวณลักษณะอากาศแบบนี้ ได้แก่ บริเวณ[[คาบสมุทรบอลข่าน]] [[ออสเตรีย]] และ[[ประเทศฮังการี|ฮังการี]]
# '''เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน''' ลักษณะอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีแสงแดดตลอดทั้งปี ฤดูร้อนอากาศร้อนและแห้งแล้ง ฤดูหนาวจะมีฝนตก ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ 500-1,000 [[มิลลิเมตร]]ต่อปี พืชพรรรณธรรมชาติเป็นเขตอบอุ่น เรียกว่า ป่าไม้เมดิเตอร์เรเนียน เช่น คอร์กโอ๊ก ส้ม มะนาว องุ่น มีป่าไม้มีหนามแหลม เรียกว่า ป่ามากี (maquis) บริเวณที่มีลักษณะอากาศแบบนี้ คือ บริเวณที่มีอาณาเขตติดกับ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ได้แก่ ภาคใต้ของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] [[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]] [[ประเทศสเปน|สเปน]] [[ประเทศโปรตุเกส|โปรตุเกส]] [[ประเทศเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]] และ[[กรีซ]]
# '''เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย''' ลักษณะสำคัญของอากาศในเขตนี้ คือ เป็นเขตที่มีปริมาณฝนน้อย ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปีต่ำกว่า 500 มิลลิเมตร พืชพรรณธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าขึ้นเบาบาง

=== ภูมิภาค ===
[[ไฟล์:Europe subregion map UN geoscheme.svg|left|thumb|200px|การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป:
{{legend|#4080FF|[[ยุโรปเหนือ]]}}
{{legend|#00FFFF|[[ยุโรปตะวันตก]]}}
{{legend|#FF8080|[[ยุโรปตะวันออก]]}}
{{legend|#00FF00|[[ยุโรปใต้]]}}]]

ทวีปยุโรป แบ่งออกเป็น 4 ภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่
* [[ยุโรปเหนือ]] ได้แก่ [[เดนมาร์ก]] [[ฟินแลนด์]] [[ไอซ์แลนด์]] [[ไอร์แลนด์]] [[นอร์เวย์]] [[สวีเดน]] [[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]] [[ลิทัวเนีย]] และ[[สหราชอาณาจักร]]
* [[ยุโรปตะวันตก]] ได้แก่ [[ออสเตรีย]] [[เบลเยียม]] [[ฝรั่งเศส]] [[เยอรมนี]] [[ลิกเตนสไตน์]] [[ลักเซมเบิร์ก]] [[เนเธอร์แลนด์]] และ[[สวิตเซอร์แลนด์]]
* [[ยุโรปตะวันออก]] ได้แก่ [[เบลารุส]] [[บัลแกเรีย]] [[เช็กเกีย]] [[ฮังการี]] [[มอลโดวา]] [[โปแลนด์]] [[โรมาเนีย]] [[รัสเซีย]] [[สโลวาเกีย]] และ[[ยูเครน]]
* [[ยุโรปใต้]] ได้แก่ [[แอลเบเนีย]] [[อันดอร์รา]] [[บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา]] [[โครเอเชีย]] [[กรีซ]] [[อิตาลี]] [[นอร์ทมาซิโดเนีย]] [[มอลตา]] [[โปรตุเกส]] [[ซานมารีโน]] [[สโลวีเนีย]] [[สเปน]] [[เซอร์เบีย]] [[มอนเตเนโกร]] และ[[คอซอวอ]]
* ดินแดนที่เป็นนครรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ในประเทศอื่นอีก 2 แห่ง คือ [[นครรัฐวาติกัน]] ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี และ[[โมนาโก]] ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในประเทศฝรั่งเศส ใกล้พรมแดนอิตาลี

== เมืองสำคัญ ==
ทวีปยุโรปมีหลายเมืองที่เป็นศูนย์กลางทางการเงินของโลก ทวีปยุโรปจึงเป็นทวีปที่มีการคมนาคมที่สะดวกสบายเป็นอย่างมาก การคมนาคมส่วนใหญ่จะเป็น[[การขนส่งมวลชนระบบราง|ระบบราง]] เช่น [[รถไฟฟ้า]] [[รถไฟใต้ดิน]] และ[[รถไฟความเร็วสูง]] ซึ่งถือเป็นหัวใจหลักของการคมนาคมระหว่างเมืองและระหว่างประเทศ

== โครงสร้างพื้นฐาน ==
# การเพาะปลูก เขตเพาะปลูกอยู่ในยุโรปตะวันตก ภาคตะวันออกและภาคใต้ของอังกฤษ ภาคเหนือและภาคตะวันตกของฝรั่งเศส ตอนเหนือของเยอรมนี ยูเครน พืชที่สำคัญคือ
## ข้าวสาลี ปลูกได้มากที่สุดคือ ยูเครน รองลงไปคือ ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย บัลแกเรีย เยอรมนี ฮังการี
## ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข้าวไรย์ ถั่ว มันฝรั่ง ปลูกได้โดยทั่วไป
## องุ่น ส้ม มะกอก มะนาว แอปเปิลและผลไม้ชนิดต่างๆ ปลูกได้มากเขตอากาศแบบเมดิเตอร์เนียน ได้แก่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน กรีซ
## ต้นแฟล็กซ์ ใช้ใบทำป่านลินิน ปลูกมากในโปแลนด์ เบลเยียม ไอร์แลนด์
# การเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไปตามลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
## เขตทุนดรา มีการเลี้ยงกวางเรนเดียร์
## [[ทุ่งหญ้าสเตปป์|เขตทุ่งหญ้าสเตปป์]] มีการเลี้ยงโคเนื้อ แพะ แกะ ม้า
## เขตเมดิเตอร์เรเนียน มีการเลี้ยงโคเนื้อ และแกะ
## เขตภูเขาสูง และที่ราบสูง มีการเลี้ยงโคเนื้อ โคนม แกะ
## เขตอบอุ่นชื้นตอนเหนือของคาบสมุทรบอลข่าน มีการเลี้ยงสุกรด้วยข้าวโพด
## เขตภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก มีการทำฟาร์มโคนม
# การทำป่าไม้ พบมากในประเทศฟินแลนด์ สวีเดน รัสเซีย นอร์เวย์ ในบริเวณป่าสน ซึ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน นำมาผลิตเป็นเยื่อกระดาษ
# การประมง แหล่งประมงที่สำคัญ ได้แก่
## ทะเลเหนือ โดยเฉพาะบริเวณที่กระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือบรรจบกับกระแสน้ำเย็นกรีนแลนด์ตะวันออก เกิดเป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุมมากแห่งหนึ่งของโลกเรียกว่า ดอกเกอร์แบงก์ ประเทศที่จับปลาได้มาก สหราชาอาณาจักร ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์
## บริเวณอ่าวบิสเคย์จนถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยเฉพาะบริเวณทะเลดำ ทะเลสาบแคสเปียนและแม่น้ำโวลกา มีการจับปลาสเตอร์เจียน มาทำเป็นไข่ปลาคาร์วียร์
# การทำเหมืองแร่ ยุโรปเป็นทวีปที่มีแร่เหล็กและถ่านหินอุดมสมบูรณ์
## ถ่านหิน แหล่งสำคัญอยู่ทางภาคเหนือของสหราชอาณาจักร ภาคกลางของเบลเยียม ลุ่มแม่น้ำรูห์ของเยอรมนี ภาคใต้ของโปแลนด์ ภาคเหนือของเช็กเกีย สโลวาเกียยูเครน และรัสเซีย
## เหล็ก แหล่งสำคัญคือ
### แหล่งคิรูนาและเยลีวาร์ทางตอนเหนือของสวีเดน
### แหล่งคริวอยร็อกในยูเครน
### แหล่งลอเรนซ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส
## น้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ แหล่งสำคัญของยุโรปอยู่ในบริเวณทะเลเหนือ และรอบๆทะเลสาบแคสเปียน
## บอกไซต์ เมื่อนำถลุงแล้วได้อะลูมิเนียม แหล่งผลิตสำคัญอยู่ทางภาคใต้ของฝรั่งเศส กลุ่มประเทศในอดีตยูโกสลาเวีย ฮังการี เทือกเขาอูราลในรัสเซีย
## โพแทช ใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ยและสบู่ แหล่งผลิตอยู่ในประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี สเปน รัสเซีย
# อุตสาหกรรม ยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศประชากร ผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก เช่น สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ส่วนยุโรปตะวันออกอยู่ใน รัสเซีย ยูเครน เบลารุส
# การค้าขาย เนื่องจากยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ทำให้ยุโรปมีการติดต่อค้าขายกับภูมิภาคอื่นและมีการตั้งกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น
##[[สหภาพยุโรป]]
## สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (EFTA-European Free Trade Association) ตลาดการค้าขายระหว่างประเทศ ได้แก่ ประเทศต่างๆที่อยู่ในยุโรปและประเทศอเมริกาเหนือ
# การคมนาคมขนส่ง ยุโรปเป็นทวีปที่มีการคมนาคมขนส่งเจริญก้าวหน้ามาก
## ทางรถยนต์ มีทางหลวงเชื่อมระหว่างเมือง เขตอุตสาหกรรมและประเทศต่างๆ มีระยะทางยาวประมาณ 1 ใน 5 ของทางรถยนต์ของโลก
## ทางรถไฟ ทวีปยุโรปมีทางรถไฟยาว 1 ใน 3 ของทางรถไฟในโลก ประเทศที่มีทางรถไฟยาวเมื่อเฉลี่ยต่อเนื้อที่แล้วมากที่สุด คือ เบลเยียม รองลงมาคือ สหราชอาณาจักร สวิตเซอร์แลนด์ เมืองที่เป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางรถไฟคือ ปารีส ลอนดอน เบอร์ลิน วอร์ซอ มอสโก
## ทางอากาศ แต่ละประเทศต่างก็มีสายการบินเป็นของตนเอง ใช้ติดต่อระหว่างเมืองภายในประเทศ ระหว่างประเทศ และระหว่างทวีป ศูนย์กลางการบินส่วนใหญ่เป็นเมืองหลวงของแต่ละประเทศ
## ทางน้ำ แม่น้ำสำคัญที่ใช้ในการคมนาคมขนส่งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ได้แก่ แม่น้ำไรน์ แม่น้ำเซน แม่น้ำดานูบ แม่น้ำโวลกา แม่น้ำโอเดอร์ และมีการขุดคลองเพื่อการคมนาคม เช่น คลองคีล ในเยอรมนี เชื่อมระหว่างทะเลบอลติกกับทะเลเหนือ คลองมีดีในฝรั่งเศสเชื่อมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก

== เศรษฐกิจ ==
{{ดูเพิ่มที่|รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามค่าจีดีพี|รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามจีดีพีต่อหัว|วิกฤตการเงินกรีซใน ค.ศ. 2010}}

ทวีปยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจรุ่งเรืองมาก โดยมีการรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เรียกว่า [[สหภาพยุโรป|กลุ่มสหภาพยุโรป]] ซึ่งมีบทบาทมากต่อเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ สมาชิก[[จี 8]] จำนวน 8 ประเทศ มีสมาชิกอยู่ในทวีปยุโรปมากถึง 5 ประเทศ คือ [[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]] [[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]] [[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] [[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]] และ[[ประเทศสหราชอาณาจักร|สหราชอาณาจักร]]

หลังเกิด[[วิกฤตการเงินโลก 2010]] ที่[[ประเทศกรีซ]] ทำให้[[ตลาดหลักทรัพย์|ตลาดหุ้น]]ทั่วโลกดิ่งลงเหวอย่างหนัก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า กลุ่มสหภาพยุโรปเริ่มขาดสภาพคล่องทางการเงินจากปัญหาหนี้สินเพิ่มมากขึ้น

{{บน}}
{| class="wikitable"
|-
! colspan=4 | ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจหรือจีดีพีมากที่สุดในทวีปยุโรป 10 อันดับแรก
|-
! อันดับ (ยุโรป)
! ประเทศ
! ค่าจีดีพี (ล้าน$) ปี 2552
! อันดับ (โลก)
|-
| <center>-<center>
| {{flagicon|European Union}} [[สหภาพยุโรป]]
| <center>16,447,259<center>
| <center>-<center>
|-
| <center>1<center>
| {{flagicon|GER}} [[เยอรมนี]]
| <center>3,352,742<center>
| <center>4<center>
|-
| <center>2<center>
| {{flagicon|France}} [[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]
| <center>2,675,951<center>
| <center>5<center>
|-
| <center>3<center>
| {{flagicon|United Kingdom}} [[สหราชอาณาจักร]]
| <center>2,183,607<center>
| <center>6<center>
|-
| <center>4<center>
| {{flagicon|Italy}} [[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]]
| <center>2,118,264<center>
| <center>7<center>
|-
| <center>5<center>
| {{flagicon|Spain}} [[ประเทศสเปน|สเปน]]
| <center>1,464,040<center>
| <center>9<center>
|-
| <center>6<center>
| {{flagicon|Russia}} [[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]]
| <center>1,229,227<center>
| <center>12<center>
|-
| <center>7<center>
| {{flagicon|Netherlands}} [[เนเธอร์แลนด์]]
| <center>794,777<center>
| <center>16<center>
|-
| <center>8<center>
| {{flagicon|Switzerland}} [[สวิตเซอร์แลนด์]]
| <center>494,622<center>
| <center>19<center>
|-
| <center>9<center>
| {{flagicon|Belgium}} [[เบลเยียม]]
| <center>470,400<center>
| <center>20<center>
|-
| <center>10<center>
| {{flagicon|Poland}} [[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]]
| <center>430,197<center>
| <center>21<center>
|-
! colspan=4 | ข้อมูลจาก[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]]
|}
{{กลาง}}
{| class="wikitable"
|-
! colspan=4 | ประเทศในทวีปยุโรปที่มีจีดีพีต่อหัวมากที่สุด 10 อันดับแรก
|-
! อันดับ (ยุโรป)
! ประเทศ
! ค่าจีดีพีต่อหัว ($) ปี 2552
! อันดับ (โลก)
|-
| <center>1<center>
| {{flagicon|Luxembourg}} [[ประเทศลักเซมเบิร์ก|ลักเซมเบิร์ก]]
| <center>104,512<center>
| <center>1<center>
|-
| <center>2<center>
| {{flagicon|Norway}} [[ประเทศนอร์เวย์|นอร์เวย์]]
| <center>79,085<center>
| <center>2<center>
|-
| <center>3<center>
| {{flagicon|Switzerland}} [[สวิตเซอร์แลนด์]]
| <center>67,560<center>
| <center>4<center>
|-
| <center>4<center>
| {{flagicon|Denmark}} [[ประเทศเดนมาร์ก|เดนมาร์ก]]
| <center>56,115<center>
| <center>5<center>
|-
| <center>5<center>
| {{flagicon|Ireland}} [[ไอร์แลนด์]]
| <center>51,356<center>
| <center>6<center>
|-
| <center>6<center>
| {{flagicon|Netherlands}} [[เนเธอร์แลนด์]]
| <center>48,223<center>
| <center>7<center>
|-
| <center>7<center>
| {{flagicon|Austria}} [[ออสเตรีย]]
| <center>45,989<center>
| <center>10<center>
|-
| <center>8<center>
| {{flagicon|Finland}} [[ประเทศฟินแลนด์|ฟินแลนด์]]
| <center>44,492<center>
| <center>12<center>
|-
| <center>9<center>
| {{flagicon|Sweden}} [[ประเทศสวีเดน|สวีเดน]]
| <center>43,986<center>
| <center>13<center>
|-
| <center>10<center>
| {{flagicon|Belgium}} [[เบลเยียม]]
| <center>43,533<center>
| <center>14<center>
|-
! colspan=4 | ข้อมูลจาก[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]]
|}
{{ล่าง}}
[[File:Tammerkoski from air.jpg|thumb|180px|[[ตัมเปเร]]ในฟินแลนด์เป็นหนึ่งในเมืองใหญ่ทางตอนเหนือของยุโรป]]

== เชิงอรรถ ==
{{reflist|group=หมายเหตุ}}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links|voy=Europe}}
* [http://www.coe.int/ Council of Europe]
* [http://europa.eu/ European Union]
* [http://www.columbiagazetteer.org/ The Columbia Gazetteer of the World Online] [[Columbia University Press]]
* [http://www.lonelyplanet.com/europe "Introducing Europe"] from [http://www.lonelyplanet.com/ Lonely Planet] Travel Guides and Information
'''Historical Maps'''
* [http://geacron.com/home-en/?&sid=GeaCron747702 Borders in Europe 3000BC to the present] Geacron [[Historical atlas]]
* [http://www.euratlas.net/history/europe/index.html Online history of Europe in 21 maps]

{{ทวีป}}
{{ดินแดน}}
{{ยุโรป}}


[[หมวดหมู่:ทวีปยุโรป| ]]
[[หมวดหมู่:ทวีปยุโรป| ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:36, 19 กรกฎาคม 2563

ยุโรบเป็นดินแดนที่สุดยอดไม่มีผู้นำแย่