ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดีเอ็นเอฮาจิโมจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PepeBonus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:ADN animation.gif|thumb|[[เกลียวคู่กรดนิวคลีอิก|โครงสร้างเกลียวคู่มาตรฐาน]] โครงสร้างที่ถูกสันนิษฐานโดยดีเอ็นเอฮาจิโมจิ]]
'''ดีเอ็นเอฮาจิโมจิ''' (จาก[[ภาษาญี่ปุ่น]] {{lang|ja|八文字}} ''hachimoji'' "แปดอักษร") เป็น[[กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก]] (ดีเอ็นเอ) ที่มี[[นิวคลีโอเบส]]แปดตัว มาจากธรรมชาติสี่ตัวและสังเคราะห์ขึ้นสี่ตัว<ref name="SCI-20190222">{{cite journal|last=Hoshika|first=Shuichi|display-authors=etal|date=22 February 2019|title=Hachimoji DNA and RNA: A genetic system with eight building blocks (paywall) |url=http://science.sciencemag.org/content/363/6429/884 |journal=[[Science (journal)|Science]]|volume=363|issue=6429|pages=884-887|doi=10.1126/science.aat0971|accessdate=21 February 2019|subscription=yes}}</ref><ref name="EA-20190221">{{cite news |author=[[American Association for the Advancement of Science]] |title=Hachimoji – Expanding the genetic alphabet from four to eight |url=https://www.eurekalert.org/pub_releases/2019-02/aaft-h-e021919.php |date=21 February 2019 |work=[[EurekAlert!]] |accessdate=22 February 2019}}</ref><ref name="PHY-20190221">{{cite news |last1=Brown |first1=Dwayne |last2=Landau |first2=Elizabeth |title=Research creates DNA-like molecule to aid search for alien life |url=https://phys.org/news/2019-02-dna-like-molecule-aid-alien-life.html |date=21 February 2019 |work=[[Phys.org]] |accessdate=22 February 2019 }}</ref><ref name="PW-20190222">{{cite news |last=Dumé |first=Bello |title=Hachimoji DNA doubles the genetic code |url=https://physicsworld.com/a/hachimoji-dna-doubles-the-genetic-code/ |date=22 February 2019 |work=[[Physics World]] |accessdate=22 February 2019 }}</ref><ref name="NYT-20190221">{{cite news |last=Zimmer |first=Carl |authorlink=Carl Zimmer |title=DNA Gets a New — and Bigger — Genetic Alphabet - DNA is spelled out with four letters, or bases. Researchers have now built a system with eight. It may hold clues to the potential for life elsewhere in the universe and could also expand our capacity to store digital data on Earth. |url=https://www.nytimes.com/2019/02/21/science/dna-hachimoji-genetic-alphabet.html |date=21 February 2019 |work=[[The New York Times]] |accessdate=21 February 2019 }}</ref> การสังเคราะห์ดีเอ็นเอฮาจิโมจินี้เป็นผลจากการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุนจาก[[นาซา]]<ref name="PHY-20190221" /> ประโยชน์ของดีเอ็นเอนี้อาจรวมไปถึงการเพิ่มขีดความสามารถใน[[การเก็บข้อมูล]] และอาจเป็นหนทางสู่การค้นหา[[สิ่งมีชีวิตนอกโลก]]<ref name="NYT-20190221" /><ref name="GZM-20190222">{{cite news |last=Dvorsky |first=George |title=Freaky Eight-Letter DNA Could Be the Stuff Aliens Are Made Of |url=https://gizmodo.com/freaky-eight-letter-dna-could-be-the-stuff-aliens-are-m-1832823430 |date=22 February 2019 |work=[[Gizmodo]] |accessdate=23 February 2019 }}</ref> ตามที่[[โลริ เกลซ]] แห่งหน่วยงานด้านวิทยาดาวเคราะห์ของนาซา ได้กล่าวไว้ว่า "การตรวจหาสิ่งมีชีวิตเป็นเป้าหมายสำคัญอย่างยิ่งของภารกิจด้านวิทยาดาวเคราะห์ของนาซา และงานวิจัยใหม่นี้ [เกี่ยวกับดีเอ็นเอฮาจิโมจิ] จะช่วยให้เราสามารถพัฒนาอุปกรณ์และการทดลองที่มีประสิทธิภาพ และขยายผลของการสำรวจที่เรากำลังค้นหาอยู่นี้"<ref name="PHY-20190221" /><ref name="CNN-20190221">{{cite news |last=Stickland |first=Ashley |title=Synthetic DNA could help with search for alien life |url=https://www.cnn.com/2019/02/21/world/synthetic-dna-alien-life/index.html |date=21 February 2019 |work=[[CNN News]] |accessdate=22 February 2019 }}</ref> [[สตีเวน เบนเนอร์]] หัวหน้าทีมนักวิจัย บันทึกว่า "เมื่อวิเคราะห์หน้าที่ของรูปร่าง ขนาดและโครงสร้างของดีเอ็นเอฮาจิโมจิ งานวิจัยนี้ก็ขยายความเข้าใจของเราเกี่ยวกับชนิดของโมเลกุลที่อาจเก็บข้อมูลภายในสิ่งมีชีวิตนอกโลกในต่างโลกได้"<ref name="IFLS-20190222">{{cite news |last=Carpineti |first=Alfredo |title=New Artificial DNA Has Doubled The Alphabet Of Life |url=https://www.iflscience.com/chemistry/new-artificial-dna-has-doubled-the-alphabet-of-life/ |date=22 February 2019 |work=IFLScience.com |accessdate=22 February 2019 }}</ref>

== ลักษณะ ==
[[ดีเอ็นเอ]]ตามธรรมชาตินั้นเป็นโมเลกุลที่ประกอบไปด้วยโซ่สองสายที่ขดตัวอยู่รอบกันและกันเป็นเกลียวคู่ที่บรรจุข้อมูลทางพันธุกรรมสำหรับการเจริญเติบโต การพัฒนา การทำงานของอวัยวะต่าง ๆ และ[[การสืบพันธุ์]]ของ[[สิ่งมีชีวิต]]ทุกชนิดและ[[ไวรัส]]อีกจำนวนมาก ดีเอ็นเอและ[[กรดไรโบนิวคลีอิก]] (อาร์เอ็นเอ) เป็นกรดนิวคลีอิก ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่[[สารชีวโมเลกุล]][[โมเลกุลขนาดใหญ่|ขนาดใหญ่]]ที่จำเป็นต่อทุกชีวิตร่วมกับ [[โปรตีน]] [[ลิพิด]] และคาร์โบไฮเดรตที่ซับซ้อน ([[พอลิแซ็กคาไรด์]]) ดีเอ็นเอสายคู่ เรียกอีกอย่างว่า [[พอลินิวคลีโอไทด์]] เนื่องจากมันประกอบขึ้นจากส่วนย่อยที่เรียกว่า [[นิวคลีโอไทด์]]<ref>{{Cite book |vauthors= Alberts B, Johnson A, Lewis J, Raff M, Roberts K, Walter P |title= Molecular Biology of the Cell |edition= 6th |publisher= Garland |year= 2014 |url= http://www.garlandscience.com/product/isbn/9780815344322 |chapter= Chapter 4: DNA, Chromosomes and Genomes |isbn= 978-0-8153-4432-2 |deadurl= no |archive-url= https://web.archive.org/web/20140714210549/http://www.garlandscience.com/product/isbn/9780815344322 |archive-date= 14 July 2014 |df= dmy-all }}</ref><ref>{{cite web|last1=Purcell|first1=Adam|name-list-format=vanc|title=DNA|url=http://basicbiology.net/micro/genetics/dna|website=Basic Biology|deadurl=no|archive-url=https://web.archive.org/web/20170105045651/http://basicbiology.net/micro/genetics/dna/|archive-date=5 January 2017}}</ref> แต่ละนิวคลีโอไทด์ประกอบไปด้วย หนึ่งในสี่[[นิวคลีโอเบส]][[ไนโตรจีนัสเบส|ที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ]] ([[ไซโทซีน]] [C] [[กัวนีน]] [G] [[อะดีนีน]] [A] หรือ [[ไทมีน]] [T]) [[มอโนแซ็กคาไรด์|น้ำตาล]]ที่มีชื่อว่า[[ดีออกซีไรโบส]] และ[[หมู่ฟอสเฟต]] นิวคลีโอไทด์เชื่อมต่อกันกับนิวคลีโอไทด์ตัวอื่นในโซ่ด้วย[[พันธะโควาเลนต์]]ระหว่างน้ำตาลของนิวคลีโอไทด์หนึ่งกับหมู่ฟอสเฟตของนิวคลีโอไทด์อีกตัว ทำให้เกิดเป็น[[โซ่กระดูกสันหลัง|กระดูกสันหลังน้ำตาล–ฟอสเฟต]] ไนโตรจีนัสเบสของสองสายพอลินิวคลีโอไทด์ที่แยกกันจะเชื่อมต่อกันด้วยพันธะไฮโดรเจน ตามกฎ[[การจับคู่เบส]] (A กับ T และ C กับ G) เกิดเป็นดีเอ็นเอสายคู่

ดีเอ็นเอฮาจิโมจินี้คล้ายคลึงกับดีเอ็นเอตามธรรมชาติ แต่แตกต่างไปในเรื่องของจำนวนและชนิดของนิวคลีโอเบส นิวคลีโอเบสที่ไม่เป็นธรรมชาติจะ[[ไฮโดรโฟบิก]]มากกว่า[[เบส (เคมี)|เบสที่เป็นธรรมชาติ]]<ref name="NAT-20190221">{{cite journal |last=Warren |first=Matthew |title=Four new DNA letters double life’s alphabet - Synthetic DNA seems to behave like the natural variety, suggesting that chemicals beyond nature’s four familiar bases could support life on Earth. |url=https://www.nature.com/articles/d41586-019-00650-8 |date=21 February 2019 |work=[[Nature (journal)|Nature]] |doi=10.1038/d41586-019-00650-8 |accessdate=25 February 2019 }}</ref><ref name="SMITH-20190225">{{cite news |last=Thulin |first=Lila |title=Scientists Successfully Double the DNA Alphabet - “Hachimoji DNA” is structurally sound, offers new possibilities for data storage and raises questions about the molecular makeup potential alien life |url=https://www.smithsonianmag.com/smart-news/scientists-just-doubled-number-letters-dna-alphabet-180971552/ |date=25 February 2019 |work=[[Smithsonian (magazine)|Smithsonian Magazine]] |accessdate=25 February 2019 }}</ref> โดยนิวคลีโอเบสเหล่านี้สร้างขึ้นเพื่อให้การผลิตดีเอ็นเอฮาจิโมจินี้ประสบความสำเร็จ ดีเอ็นเอในลักษณะนี้จะสร้าง[[เกลียวคู่กรดนิวคลีอิก|เกลียวคู่มาตรฐาน]]เสมอ ไม่ว่าจะลำดับเบสให้เป็นแบบไหน อย่างไรก็ตาม มีเอนไซม์ [[T7 ดีเอ็นเอ พอลิเมอเรส|T7 พอลิเมอเรส]] ถูกใช้โดยทีมนักวิจัยเพื่อแปลงดีเอ็นเอฮาจิโมจิเป็นอาร์เอ็นเอฮาจิโมจิ ซึ่งสร้างการกระตุ้นชีวภาพในรูปของ[[ฟลูออโรฟอร์]]เรืองแสงสีเขียว<ref name="PW-20190222" /><ref name="NYT-20190221" />

{{multiple image
| align = center
| total_width = 900
| image1 = Hachimoji DNA base pairs.gif
| alt1 = Hachimoji DNA | caption1 =
| image2 = Hachimoji RNA base pairs.gif
| alt2 = Hachimoji DNA | caption2 =
| footer = <center>การจับคู่เบสในดีเอ็นเอฮาจิโมจิ (ซ้าย) และในอาร์เอ็นเอฮาจิโมจิ (ขวา)<br>เบสธรรมชาติอยู่แถวบน ส่วนเบสที่สังเคราะห์ขึ้นอยู่แถวล่าง พันธะไฮโดรเจนขีดเส้นสีเขียวและอะตอมตัวรับในสีแดง</center>
}}
{{clear}}

== ดูเพิ่ม ==
{{div col|colwidth=30em}}
* [[กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต]]
* [[ชีววิทยาดาราศาสตร์]]
* [[ลัทธิคลั่งคาร์บอน]]
* [[ชีวิตจากคาร์บอน]]
* [[ชีวิตรูปแบบแรกเริ่ม]]
* [[สิ่งมีชีวิตนอกโลก]]
* [[รูปแบบสมมติของชีวโมกุล]]
* [[กรดนิวคลีอิกคล้ายกัน]]
{{div col end}}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:ชีววิทยาดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ชีววิทยาดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยีชีวภาพ]]
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยีชีวภาพ]]
บรรทัด 38: บรรทัด 4:
[[หมวดหมู่:พันธุศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:พันธุศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:เกลียว]]
[[หมวดหมู่:เกลียว]]
cdgdsyiccgsicgsdoysvgcatcyxdgciyldgcyiaulgcosyidlgucyfsidcgusidvygckgyiscpigsydcu

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:43, 5 มีนาคม 2562

cdgdsyiccgsicgsdoysvgcatcyxdgciyldgcyiaulgcosyidlgucyfsidcgusidvygckgyiscpigsydcu