ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำอสุจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
#plasma = พลาสมาของน้ำอสุจิ, Seminal plasma
#plasma = พลาสมาของน้ำอสุจิ, Seminal plasma
-->
-->
'''น้ำอสุจิ''' ({{lang-en|Semen, seminal fluid}}) เป็น[[สารประกอบอินทรีย์]]เหลวที่อาจมี[[ตัวอสุจิ]]อยู่ ใน[[ภาษาบาลี]] ''อะ'' แปลว่าไม่ ''สุจิ'' หรือ''สุจี'' แปลว่าสะอาด น้ำอสุจิ จึงแปลว่า ''น้ำที่ไม่สะอาด'' เป็นน้ำที่หลั่งออกจาก[[อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์]]และจากอวัยวะทางเพศอื่น ๆ ของสัตว์[[เพศชาย]] และสามารถทำ[[การผสมพันธุ์]]กับไข่ของ[[เพศหญิง]]ได้ ใน[[มนุษย์]] น้ำอสุจิมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอสุจิ คือมี[[เอนไซม์]]ต่าง ๆ และน้ำตาลประเภท[[ฟรุกโทส]] ที่ช่วยเลี้ยงตัวอสุจิให้ดำรงรอดอยู่ได้ และเป็นสื่อเพื่อที่ตัวอสุจิจะเคลื่อนที่ หรือ "ว่ายน้ำ" ไปได้


{{main|ตัวอสุจิ|การสร้างตัวอสุจิ}}ฝากfollow instragram k.oun
น้ำอสุจิโดยมากเกิดจาก[[ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ]]<ref name=RoyalDict>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ seminal vesicle ว่า "ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ"</ref> (หรือมีชื่ออื่นว่า ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ<ref name=RoyalDict/>)
ซึ่งเป็นอวัยวะอยู่ที่[[เชิงกราน]] แต่ว่า[[ตัวอสุจิ]]เองสร้างจากอัณฑะ ส่วนกระบวนการที่นำไปสู่การปล่อยน้ำอสุจิเรียกว่า [[การหลั่งน้ำอสุจิ]]


ในมนุษย์ น้ำอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นที่หลั่งออกโดย[[ผู้ชาย]] เมื่อถึง[[จุดสุดยอด]] เมื่อมี[[เพศสัมพันธ์]] เมื่อมี[[การสำเร็จความใคร่]] หรือเมื่อขับออกตามธรรมชาติที่เรียกว่า[[ฝันเปียก]] โดยจะมี[[การหลั่งน้ำอสุจิ]]แต่ละครั้งประมาณ 3-4 ซีซี มีจำนวนตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ล้านตัว<ref>{{cite web |title=คลินิกรัก |url=http://www.clinicrak.com/webboard/infertile/00048.htm |archiveurl=http://web.archive.org/web/20100125064810/http://www.clinicrak.com/webboard/infertile/00048.htm |archivedate=2010-01-25 |accessdate=12 เมษายน 2557 }}</ref>

==มุมมองทางกายภาพ==
===การผสมพันธุ์ภายนอกหรือภายใน===
ขึ้นอยู่กับสัตว์แต่ละ[[สปีชีส์]] [[ตัวอสุจิ]]อาจจะผสมพันธุ์กับไข่ภายนอกหรือภายใน
ในการผสมพันธุ์ภายนอก ตัวอสุจิจะผสมพันธุ์กับไข่ข้างนอก[[อวัยวะสืบพันธุ์]]ของตัวเมีย
ตัวอย่างเช่น [[ปลา]] [[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]]ตัวเมียวางไข่ภายในสิ่งแวดล้อมในน้ำ
และจะได้รับการผสมพันธุ์กับน้ำอสุจิของตัวผู้ในที่นั้น

ส่วนการผสมพันธุ์ภายในเกิดขึ้นภายในอวัยวะสืบพันธุ์ของตัวเมีย
ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากที่ตัวผู้ฉีดน้ำอสุจิเข้าใน[[ช่องคลอด]]ของตัวเมียในระหว่าง[[การร่วมเพศ]]
ใน[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ส่วนมาก รวมทั้ง [[สัตว์เลื้อยคลาน]] [[สัตว์ปีก]] ปลาที่ออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาหางนกยูง หรือฉลาม และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม[[อันดับโมโนทรีม]]
การร่วมเพศเกิดที่ทวารร่วม (cloaca<ref>'''ทวารร่วม''' (cloaca) เป็นทวารด้านหลังที่เป็นทวารออกช่องเดียวของระบบลำไส้ ระบบสืบพันธุ์ และระบบปัสสาวะของสัตว์[[สปีชีส์]]นั้น ๆ [[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]] [[สัตว์เลื้อยคลาน]] [[สัตว์ปีก]] และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม[[อันดับโมโนทรีม]] ล้วนแต่มีทวารเช่นนี้ ซึ่งใช้ทั้งในการปัสสาวะ ในการอุจจาระ และในการมีเพศสัมพันธ์ ไม่เหมือนกับ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ที่มี[[รก]] ซึ่งมักจะมีทวาร 2-3 ทางเพื่อทำกิจดังกล่าวเหล่านั้น</ref>) ของทั้งตัวผู้และตัวเมีย
แต่ใน[[สัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง]]และใน[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ที่มี[[รก]] การร่วมเพศจะเกิดขึ้นผ่านช่องคลอด

=== การผลิตและตัวอสุจิในมนุษย์ ===
{{main|ตัวอสุจิ|การสร้างตัวอสุจิ}}
[[ไฟล์:Spermatozoa-human-1000x.jpg|thumb|right|[[ตัวอสุจิ]]ของมนุษย์ เป็นองค์ประกอบหลักในน้ำอสุจิปกติ และเป็นตัวที่ทำ[[การผสมพันธุ์]]กับไข่ของผู้หญิง (ขยายขนาด 1,000 เท่า) ]]
[[ไฟล์:Spermatozoa-human-1000x.jpg|thumb|right|[[ตัวอสุจิ]]ของมนุษย์ เป็นองค์ประกอบหลักในน้ำอสุจิปกติ และเป็นตัวที่ทำ[[การผสมพันธุ์]]กับไข่ของผู้หญิง (ขยายขนาด 1,000 เท่า) ]]
[[ไฟล์:Prefertilization Sperm cell.PNG|thumb|right|แผนผัง[[ตัวอสุจิ]]ของมนุษย์ ส่วนหัวแสดง Acrosome]]
[[ไฟล์:Prefertilization Sperm cell.PNG|thumb|right|แผนผัง[[ตัวอสุจิ]]ของมนุษย์ ส่วนหัวแสดง Acrosome]]
เพศชายจะเริ่มสร้าง[[ตัวอสุจิ]] ที่ผลิตภายใน[[อัณฑะ]] ซึ่งอยู่ในถุงหุ้มอัณฑะภายนอกร่างกาย เพื่อรักษาอุณหภูมิให้ต่ำที่ 32 องศาเซลเซียส เพื่อมิให้อสุจิตาย ถุงหุ้มอัณฑะจำขยายเมื่อุณหภูมิสูงทำให้ห้อยยานลงเป็นการเพิ่มพื้นที่ผิวในการระบายความร้อน และหดตัวเล็กเมื่ออากาศหนาว ในท่อที่เรียกว่าหลอดสร้างตัวอสุจิ<ref name=biovoc>{{cite web |title=พจนานุกรมคำศัพท์ (หมวด S) |url=http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/bio_voc/bio_s.htm |accessdate=2556-12-23 }} </ref> (seminiferous tubule) เมื่ออายุประมาณ 12 ปี และจะสร้างไปจนตลอดชีวิต

ตัวอสุจิหรือสเปิร์ม ที่มีลักษณะคล้าย[[ลูกอ๊อด]] ซึ่งเป็นตัวไปเจาะไข่ของเพศหญิงในกระบวน[[การปฏิสนธิ]] แบ่งโดยลักษณะออกเป็น 2 ส่วน คือ
*ส่วนหัวเป็นส่วนที่บรรจุ[[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]] โดยมี 2/3 ส่วนภายในหัวของอสุจิที่เรียกว่า Acrosome ซึ่งเป็นที่เก็บ[[เอนไซม์]] 2 ชนิดที่มีความสำคัญในการเจาะไข่ของตัวเมีย ได้แก่ Hyaluronidase และ Power proteolytic enzyme
*ส่วนหางมี 3 ส่วนหลัก ๆ แต่ส่วนที่สำคัญที่สุดก็คือ ส่วนที่ติดกับส่วนหัว ภายในจะมี [[Mitochondria]] ซึ่งเป็นที่ให้[[พลังงาน]]แก่ตัวอสุจิในการเคลื่อนที่

===องค์ประกอบของน้ำอสุจิในมนุษย์===
{{anchor|anatomy}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
[[ไฟล์:Male anatomy.png|thumb|right|300px|แผนผังอวัยวะเพศชาย]]
เมื่อผู้ชายผ่านการเร้าอารมณ์ทางเพศมาในระดับที่สมควร [[การหลั่งน้ำอสุจิ]]ก็จะเริ่มขึ้น
ภายใต้การควบคุมของ[[ระบบประสาทซิมพาเทติก]]<ref>{{cite book | author = Bruce M. Koeppen, Bruce A. Stanton, | title = Berne & Levy Physiology | publisher = Elsevier/Mosby | location = Philadelphia, PA | year = 2008 | isbn = 978-0-323-04582-7}}</ref>
คือ [[ตัวอสุจิ]]จะวิ่งออกจาก[[อัณฑะ]] (scrotum ดู[[#anatomy|รูป]]) ผ่านหลอดน้ำอสุจิ (vas deferens) เข้าผสมกับของเหลวจาก[[ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ]] (seminal vesicle) และ[[ต่อมลูกหมาก]] (prostate gland) หลังจากนั้นจะวิ่งผ่านท่อฉีดอสุจิ (ejaculatory duct) ผสม[[น้ำหล่อลื่น]]จากต่อม [[bulbourethral gland]] (หรือต่อมคาวเปอร์) ประกอบกันเป็นน้ำอสุจิ พุ่งผ่าน[[ท่อปัสสาวะ]] ออกนอกกายทางปลายท่อปัสสาวะ (urethral openning) ขับออกโดย[[กล้ามเนื้อ]]ที่หดเกร็งเป็นจังหวะ<ref>{{cite book | author = Walter F. Boron, Emile L. Boulpaep, | title = Medical Physiology: A Cellular and Molecular Approach | publisher = Elsevier/Saunders | location = Philadelphia, PA | year = 2005 | isbn = 1-4160-2328-3}}</ref> 6-8 ระรอกซึ่งมักพบว่า 8 ระรอกตามระยะบีบตัวของกล้ามเนื้อที่เกิดการกระตุ้นของกระแสประสาทและใช้เวลาในการพัก (action potential) ทำให้น้ำอสุจิหลั่งออกมา 8 ระรอก ซึ่งระรอกหลัง ๆ จะมีปริมาณน้อยลง

[[ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ]]เป็นตัวผลิตของเหลวข้น สีขาวนวล ซึ่งสมบูรณ์ไปด้วย[[ฟรักโทส]]และองค์ประกอบอื่น ๆ รวมกันเป็นส่วนถึง 70% ของน้ำอสุจิทั้งหมด<ref name=Mann1954>{{Cite journal|year=1954 |author=Mann, T |title=The Biochemistry of Semen |publisher=London: Methuen & Co; New York: John Wiley & Sons |url= http://www.archive.org/stream/biochemistryofse00mann#page/n5/mode/2up |postscript=<!--None--> |accessdate=2013-11-09}}</ref>
ส่วน[[ต่อมลูกหมาก]] ซึ่งอาศัย[[ฮอร์โมน]]เพศชาย dihydrotestosterone ก็จะหลั่งน้ำ (ไม่เหนียว) ออกมาเป็นสีขาวหรือบางครั้งใส
มี[[เอนไซม์]]ย่อย[[โปรตีน]] (proteolytic enzyme) กรดซิตริก (citric acid) เอนไซม์ phosphatase และ[[ลิพิด]] (ไขมัน) เป็นองค์ประกอบ<ref name=Mann1954/>
ส่วนต่อม [[bulbourethral glands]] หลั่ง[[น้ำหล่อลื่น]]มีลักษณะใสออกมาใน[[ท่อปัสสาวะ]]โดยตรง<ref name=textbookofmedicalphysiology8thed>{{Cite book|title=Textbook of Medical Physiology |last=Guyton |first=Arthur C. |authorlink=Arthur Guyton |year=1991|edition=8th|publisher=W.B. Saunders|location=Philadelphia|pages=890–891|isbn=0-7216-3994-1}}</ref> โดยไม่เหมือนน้ำส่วนอื่นที่กล่าวมาแล้วซึ่งต้องอาศัยท่อผ่านต่อมลูกหมากเพื่อจะออกมาสู่ท่อปัสสาวะ (ดู[[#anatomy|รูป]])

<!-- ของที่มีอยู่เดิม -->
ค่าความเป็นกรดด่างของน้ำอสุจิ อยู่ที่ประมาณ 7.5 คือเป็นด่างเล็กน้อย หากมากกว่านี้ จะทำให้ตัวอสุจิตาย และเมื่อมีอุณหภูมิสูง จะทำให้เคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น ภายในมี Metabolic rate สูงขึ้น แต่ก็ทำให้ตัวอสุจิมีอายุน้อยลงด้วยเช่นกัน

[[ไฟล์:Epididymis-KDS.jpg|thumb|right|300px|แสดงลูก[[อัณฑะ]]ของมนุษย์ ป้าย A, B, C, D เน้นหลอดเก็บตัวอสุจิ (epididymis) ]]
การขับเคลื่อนตัวอสุจิออกจาก[[อัณฑ]]ะเริ่มที่เซลล์ Sertoli ซึ่งพยาบาลรักษา spermatocyte อันเป็นชื่อของ[[ตัวอสุจิ]]ช่วงพัฒนา
โดยเซลล์จะหลั่งน้ำออกมาภายในหลอดสร้างตัวอสุจิ (seminiferous tubule) ซึ่งช่วยนำพาตัวอสุจิไปในท่อส่งตัวอสุจิ
ส่วนท่อ Efferent ducts ซึ่งมีเซลล์ลูกบาศก์ที่มี microvilli<ref>'''microvilli''' ส่วนยื่นจาก[[เยื่อหุ้มเซลล์]]ที่เพิ่มขนาดพื้นที่ผิวของเซลล์ มีหน้าที่ต่าง ๆ รวมทั้ง[[การดูดซึม]] การหลั่งออก การยึดติดกันของเซลล์ และ[[การถ่ายโอน]]แรงกล</ref> และ[[ไลโซโซม]]
ก็จะเปลี่ยนน้ำในท่อโดยดูดซึมน้ำกลับเป็นบางส่วน
เมื่อน้ำอสุจิไปถึงหลอดเก็บตัวอสุจิ (epididymis)
เซลล์หลักในที่นั้น ซึ่งมีถุงพิโนไซโทซิส (pinocytotic vesicles<ref>ในกระบวนการระดับเซลล์ เซลล์สามารถนำวัตถุจากภายนอกเซลล์เข้ามาภายในเซลล์ โดยใช้[[เยื่อหุ้มเซลล์]]ห่อหุ้มวัตถุที่อยู่ภายนอกนั้นเป็นถุง เมื่อเยื่อหุ้มเซลล์ส่วนที่ปากถุงเชื่อมต่อกันแล้ว ถุงนั้นก็จะหลุดเป็นอิสระจากเยื่อหุ้มเซลล์เข้ามาในเซลล์ ถุงนั้นเรียกว่า '''ถุงพิโนไซโทซิส''' (pinocytotic vesicles) </ref>) อันแสดงถึงกระบวนการดูดซึมน้ำกลับ
ก็จะหลั่ง[[สารประกอบ]] glycerophosphocholine ซึ่งน่าจะมีหน้าที่ห้ามไม่ให้ capacitation<ref>'''capacitation''' เป็นระยะก่อนสุดท้ายของ[[การสร้างตัวอสุจิ]] ซึ่งจำเป็นเพื่อที่จะให้ตัวอสุจิสามารถทำ[[การผสมพันธุ์]]ได้ เป็นการพัฒนาแบบ[[ชีวเคมี]] เพราะว่า ก่อนจะถึงระยะนี้ ตัวอสุจิก็ดูเหมือนปกติและสามารถเคลื่อนไหวได้แบบปกติแล้ว </ref> เกิดก่อนเวลา
ส่วนต่อมอื่น ๆ เช่น[[ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ]] [[ต่อมลูกหมาก]] และ [[bulbourethral gland]]
เป็นอวัยวะที่ผลิดองค์ประกอบของน้ำอสุจิที่มีปริมาณมากที่สุด

{{anchor|plasma}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
'''พลาสมาของน้ำอสุจิ''' (Seminal plasma) ซึ่งหมายถึงน้ำอสุจิที่เหลือนอกจากตัวอสุจิ มีองค์ประกอบ[[สารประกอบอินทรีย์|อินทรีย์]]และ[[สารประกอบอนินทรีย์|อนินทรีย์]]ที่ซับซ้อน
มีหน้าที่ให้สารอาหารและเป็นสื่อป้องกันสำหรับตัวอสุจิ
ที่กำลังเดินทางไปในช่องสืบพันธุ์ของหญิง
สิ่งแวดล้อมโดยปกติของ[[ช่องคลอด]]จะเป็นปรปักษ์กับตัวอสุจิ
เพราะว่า มีฤทธิ์เป็นกรด (เนื่องจากเชื้อ[[แบคทีเรีย]]ที่มีอยู่ตามธรรมชาติที่ผลิดกรดแล็กติก) มีความเหนียว และมีการดูแลโดยเซลล์[[ภูมิคุ้มกัน]]
องค์ประกอบต่าง ๆ ของพลาสมาน้ำอสุจิเป็นส่วนที่ช่วยแก้ไขความเป็นปรปักษ์
คือ [[สารประกอบอินทรีย์]] (amine) มีฤทธิ์ด่างต่าง ๆ เช่น putrescine<ref>'''putrescine''' หรือ '''tetramethylenediamine''' เป็น[[สารประกอบอินทรีย์]]มีกลิ่นเหม็นมี[[สูตรเคมี]]เป็น [[Nitrogen|N]][[Hydrogen|H]]<sub>2</sub> ([[Carbon|C]]H<sub>2</sub>)<sub>4</sub>NH<sub>2</sub> เกิดจากการแตกตัวของ[[กรดอะมิโน]]ทั้งใน[[สิ่งมีชีวิต]]ทั้งที่ยังเป็นอยู่ทั้งที่ตายแล้ว เป็นพิษถ้าเกิดมีเป็นจำนวนมาก</ref>, spermidine<ref>'''spermidine''' เป็น[[สารประกอบอินทรีย์]]ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับ[[เมแทบอลิซึม]]ของเซลล์ สังเคราะห์ได้จาก putrescine เป็นสารตั้งต้นของ cadaverine</ref> และ cadaverine<ref>'''cadaverine''' เป็น[[สารประกอบอินทรีย์]]มีกลิ่นเหม็นเกิดจากการแยกสลายโปรตีนด้วยน้ำ (protein hydrolysis) ที่เกิดขึ้นเมื่อ[[เนื้อเยื่อ]]เกิดการเน่า</ref>
ทำให้น้ำอสุจิมีกลิ่นและมี[[รสชาติ]]เช่นที่มันเป็น
สารมี[[สภาพด่าง]]เหล่านี้ เข้าไปแก้ความเป็นกรดในช่องคลอด
และป้องกัน[[ดีเอ็นเอ]]ของตัวอสุจิจากการกัดกร่อนจากกรด

น้ำอสุจิมีสัดส่วนของผลิตภัณฑ์จากอวัยวะต่าง ๆ คือ
{| class="wikitable"
|----
| '''ต่อม''' || '''% (โดยประมาณ)''' || '''รายละเอียด'''
|----
| [[อัณฑะ]] || 2–5% || [[ตัวอสุจิ]]ประมาณ 200-500 ล้านตัวเกิดที่ลูก[[อัณฑะ]] มีการปล่อยออกเมื่อมี[[การหลั่งน้ำอสุจิ]] แต่ถ้าชายคนนั้นได้ผ่านการตัดหลอดน้ำอสุจิ (vasectomy) ออกแล้ว (เพื่อประโยชน์ในการทำหมันเป็นต้น) น้ำอสุจิก็จะไม่มีตัวอสุจิ
|----
| [[ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ]] || 65–75% || [[กรดอะมิโน]], กรด citrate, [[เอนไซม์]]ต่าง ๆ, [[สารประกอบ]] flavins, น้ำตาล[[ฟรักโทส]] (2–5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร<ref>{{cite journal |doi=10.1038/162812a0 |title=Relation between the Volume and Fructose Content of Human Semen |year=1948 |last1=Harvey |first1=Clare |journal=Nature |volume=162 |issue=4125 |page=812 |pmid=18121921}}</ref> ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของตัวอสุจิ ที่ต้องอาศัยน้ำตาลจากพลาสมาเพื่อพลังงานเพียงแหล่งเดียว), phosphorylcholine<ref>'''phosphorylcholine''' เป็นกลุ่มอะตอมมีขั้วของกลุ่ม[[ฟอสโฟลิพิด]]ที่ถูกกับน้ำ</ref>, [[โพรสตาแกลนดิน]] (มีหน้าที่ระงับการตอบโต้ของภูมิต้านทานผู้หญิงต่อน้ำอสุจิที่เป็นสิ่งแปลกปลอม), [[โปรตีน]], และ[[วิตามินซี]]
|----
| [[ต่อมลูกหมาก]] || 25–30% || [[เอนไซม์]] acid phosphatase, กรด citric, เอนไซม์ fibrinolysin, เอนไซม์ [[prostate specific antigen]]<ref name=psa>'''prostate specific antigen''' เป็นเอนไซม์[[ไกลโคโปรตีน]]ซึ่งมีการเข้ารหัสใน[[ยีน]] KLK3 เป็น[[เอนไซม์]]ที่หลั่งออกโดยเซลล์เยื่อบุผิวของ[[ต่อมลูกหมาก]] ผลิตเพื่อ[[การหลั่งน้ำอสุจิ]] ทำหน้าที่ละลายน้ำอสุจิที่เกาะติดกันคล้ายวุ้นเพื่อให้ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไปได้อย่างอิสระ และเชื่อกันว่าทำหน้าที่ละลาย[[เมือก]]ที่ปากมดลูก เพื่อให้ตัวอสุจิสามารถเข้าไปในมดลูกด้วย</ref>, [[เอนไซม์]]ย่อยโปรตีน (proteolytic enzyme) ต่าง ๆ, ธาตุ[[สังกะสี]] (มีระดับประมาณ 135±40 [[ไมโครกรัม]]ต่อ[[มิลลิลิตร]]สำหรับชายมีสุขภาพดี<ref name=CanaleEtal1986>{{cite journal |doi=10.1111/j.1365-2605.1986.tb00909.x |title=Zinc in human semen |year=1986 |last1=Canale |first1=D. |last2=Bartelloni |first2=M. |last3=Negroni |first3=A. |last4=Meschini |first4=P. |last5=Izzo |first5=P. L. |last6=Bianchi |first6=B. |last7=Menchini-Fabris |first7=G. F. |journal=International Journal of Andrology |volume=9 |issue=6 |pages=477–80 |pmid=3570537}}</ref> มีหน้าที่ช่วยดำรงเสถียรภาพให้กับ[[โครมาติน]]ซึ่งมีตัว[[ดีเอ็นเอ]]ในเซลล์ตัวอสุจิ การขาดธาตุสังกะสี อาจจะทำให้ความเจริญพันธุ์เสื่อมลงเพราะตัวอสุจิจะอ่อนแอ และสามารถมีผลลบต่อ[[การสร้างสเปิร์ม]])
|----
| [[bulbourethral glands]] || < 1% || น้ำตาลกาแลกโตส, เมือก (มีหน้าที่เพิ่มความสามารถในการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิใน[[ช่องคลอด]]และในปากมดลูก โดยทำทางของตัวอสุจิให้เหนียวน้อยลง และป้องกัน[[การแพร่]]ของตัวอสุจิออกจากน้ำอสุจิ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่น้ำอสุจิเมื่อหลั่งออกใหม่ ๆ มีลักษณะเหมือนวุ้น), [[น้ำหล่อลื่น]], และกรด sialic
|}

ในปี พ.ศ. 2535 มีรายงานของ[[องค์การอนามัยโลก]]ว่า น้ำอสุจิมนุษย์โดยปกติจะมี[[ปริมาตร]] 2 มิลลิลิตรหรือมากกว่านั้น
มีค่า[[พีเอช (เคมี)|พีเอช]]ระหว่าง 7.2-8.0 มีความเข้มข้นของตัวอสุจิที่ 20 ล้านตัวต่อมิลลิลิตรหรือยิ่งกว่านั้น
มีตัวอสุจิถึง 40 ล้านตัวต่อ[[การหลั่งน้ำอสุจิ]]หรือยิ่งกว่านั้น
50% ของตัวอสุจิหรือยิ่งกว่านั้น (ประเภท a และ b) มีการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า
และ 25% หรือยิ่งกว่านั้น (ประเภท a) มีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วภายใน 60 นาทีหลัง[[การหลั่งน้ำอสุจิ]]<ref>{{Cite book |last=World Health Organization |title=Laboratory Manual for the Examination of Human Semen and Semen–Cervical Mucus Interaction, 4th edition |url=http://books.google.com/?id=QBW1LBr-gpUC&pg=PP1&lpg=PP1&dq=Laboratory+Manual+for+the+Examination+of+Human+Semen+and+Semen%E2%80%93Cervical+Mucus+Interaction |publisher=Cambridge University Press |year = 2003 |location=Cambridge, UK |page=60 |isbn= 0-521-64599-9 |accessdate= 2013-11-09}}</ref>

บทความปริทัศน์งานวิจัยต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2548 พบค่าเฉลี่ยต่าง ๆ ของน้ำอสุจิในมนุษย์ดังนี้<ref name="Owen2005">{{cite journal |doi=10.2164/jandrol.04104 |title=A Review of the Physical and Chemical Properties of Human Semen and the Formulation of a Semen Simulant |year=2005 |last1=Owen |first1=D. H. |journal=Journal of Andrology |volume=26 |issue=4 |pages=459–69 |pmid=15955884 |last2=Katz |first2=DF}}</ref>

{| class="wikitable" style="text-align:center; margin:1em auto 1em auto; width:350px;"
|-
! style="width:40%;"| องค์ประกอบ
! style="width:30%;"| ค่าต่อ 100 [[มิลลิลิตร|mL]]
! style="width:30%;"| ค่ารวมที่ปริมาณเฉลี่ยที่ 3.4 [[มิลลิลิตร|mL]]
|-
| [[แคลเซียม]] ([[มิลลิกรัม|mg]]) || 27.6 || 0.938
|-
| [[ไอออน]]คลอไรด์ (mg) || 142 || 4.83
|-
| กรด Citrate (mg) || 528 || 18.0
|-
| [[ฟรักโทส]] (mg) || 272 || 9.25
|-
| [[กลูโคส]] (mg) || 102 || 3.47
|-
| กรด Lactic ([[กรัม|g]]) || 62 || 2.11
|-
| [[แมกนีเซียม]] (mg) || 11 || 0.374
|-
| [[โพแทสเซียม]] (mg) || 109 || 3.71
|-
| [[โปรตีน]] (g) || 5.04 || 0.171
|-
| [[โซเดียม]] (mg) || 300 || 10.2
|-
| Urea (g) || 45 || 1.53
|-
| [[สังกะสี]] (mg) || 16.5 || 0.561
|-
| ความสามารถในการบัฟเฟอร์ (β)
| colspan="2" | 25
|-
| Osmolarity (mOsm)
| colspan="2" | 354
|-
| ค่า[[พีเอช]]
| colspan="2" | 7.7
|-
| [[ความหนืด]] (Centipoise)
| colspan="2" | 3–7
|-
| [[ปริมาตร]] ([[มิลลิลิตร|mL]])
| colspan="2" | 3.4
|-
| colspan="3" |
{{small|
'''{{*}}ค่ารวมต่าง ๆ สำหรับปริมาตรเฉลี่ยเป็นค่าโดยคำนวณที่[[ปัดเศษ]]ให้เป็น 3 จุด
ค่าอื่น ๆ เป็นค่าที่มาในบทความปริทัศน์'''
}}
|}

===ลักษณะปรากฏของน้ำอสุจิของมนุษย์===
[[ไฟล์:Human_semen_in_petri_dish2.jpg|thumb|right|300px|[[น้ำอสุจิ]]ของมนุษย์ ให้สังเกตว่าในระยะแรก ๆ จะมีการเกาะติดกันเหมือนวุ้น]]
น้ำอสุจิมักจะดูขุ่น ๆ ออกทางสีขาว ๆ หรือแม้แต่เหลือง ๆ
ถ้ามีเลือดก็จะมีสีชมพูหรืออกแดง ๆ เป็นภาวะที่เรียกว่า hematospermia
ซึ่งอาจจะชี้ว่ามีปัญหาสุขภาพและควรจะปรึกษาหมอถ้าไม่หายเอง<ref>[http://www.healthcentral.com/prostate/question-answer-27466-63.html Blood in Semen – What could cause blood in my semen?<!-- Bot generated title -->]</ref>

หลังจาก[[การหลั่งน้ำอสุจิ]] ส่วนสุดท้าย ๆ ที่หลั่งจะเกาะกันเป็นก้อนทันที<ref name="Gallup, Gordon G; Burch, Rebecca L 2004">{{Cite journal|author=Gallup, Gordon G; Burch, Rebecca L |title=[Semen Displacement as a Sperm Competition Strategy in Humans] |journal=Evolutionary Psychology |volume=2|issue=5|pages=12–23 |year=2004 |url=http://www.epjournal.net/articles/semen-displacement-as-a-sperm-competition-strategy-in-humans/ | accessdate=10 January 2012 }}</ref>
โดยออกเป็นก้อนกลม ๆ<ref>{{cite web| last = Dean | first = Dr. John | title = Semen and sperm quality | url = http://www.netdoctor.co.uk/menshealth/facts/semenandsperm.htm | accessdate = 2006-12-07}}</ref>
แม้ว่า ส่วนที่หลั่งออกมาก่อนมักจะไม่เป็นเช่นนั้น<ref name="Baker, Robin R; Bellis, Mark A 1993">{{cite journal |doi=10.1006/anbe.1993.1271 |title=Human sperm competition: Ejaculate adjustment by males and the function of masturbation |year=1993 |last1=Baker |first1=R |journal=Animal Behaviour |volume=46 |issue=5 |page=861}}</ref>
และจากนั้นอีกสักระยะหนึ่งประมาณ 15-30 นาที
แอนติเจน<ref name=antigen>'''แอนติเจน''' (antigen) เป็นสารที่ทำให้เกิดการสร้าง[[แอนติบอดี]] เป็นสารที่อาจจะมาจากภายในร่างกายหรือภายนอกร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะพยายามทำลายแอนติเจนที่มันคิดว่าเป็นสิ่งแปลกปลอกที่อาจเป็นอันตรายต่อร่างกาย</ref>ต่อมลูกหมาก (prostate-specific antigen<ref name=psa /> หรือ PSA) ซึ่งเป็นองค์ประกอบของน้ำอสุจิก็จะทำให้เกิดการละลายกลายเป็นน้ำ<ref name="pmid12525533">{{cite journal |doi=10.1200/JCO.2003.02.083 |title=Biology of Prostate-Specific Antigen |year=2003 |last1=Balk |first1=S. P. |journal=Journal of Clinical Oncology |volume=21 |issue=2 |pages=383–91 |pmid=12525533 |last2=Ko |first2=YJ |last3=Bubley |first3=GJ}}</ref>
สันนิษฐานกันว่า การจับเป็นก้อนเช่นนั้นช่วยรักษาน้ำอสุจิไว้ในช่องคลอด<ref name="Gallup, Gordon G; Burch, Rebecca L 2004"/>
ในขณะที่การละลายช่วยตัวอสุจิให้ว่ายเข้าไปหาไข่ได้<ref name="Gallup, Gordon G; Burch, Rebecca L 2004"/>

งานปริทัศน์ในปี พ.ศ. 2548 พบว่า[[ความหนืด]]โดยเฉลี่ยของน้ำอสุจิที่พบในงานวิจัยต่าง ๆ อยู่ที่ 3-7 Centipoise<ref name="Owen2005" />

===คุณภาพของตัวอสุจิ===
[[ไฟล์:Sperm stained.JPG|thumb|right|300px|[[ตัวอสุจิ]]ของมนุษย์ ย้อมสีเพื่อตรวจคุณภาพ]]
คุณภาพของน้ำอสุจิเป็นค่าที่วัดความสามารถของน้ำอสุจิใน[[การผสมพันธุ์]]
ดังนั้น จึงเป็นค่าวัดภาวะเจริญพันธุ์ของผู้ชาย
[[ตัวอสุจิ]]ในน้ำอสุจิเป็นองค์ประกอบหลักในการผสมพันธุ์
และดังนั้น คุณภาพของน้ำอสุจิจึงหมายถึงทั้งจำนวนทั้งคุณภาพของ[[ตัวอสุจิ]]

===ปริมาณ===
ปริมาณของน้ำอสุจิที่หลั่งออกมามีความแตกต่างกันไป
งานปริทัศน์ต่องานวิจัย 30 งานพบว่า ปริมาณเฉลี่ยอยู่ที่ 3.4 [[มิลลิลิตร]]
โดยมีงานวิจัยบางงานพบมากถึง 4.99 มิลลิลิตร และบางงานพบน้อยถึง 2.3 มิลลิลิตร<ref name="Owen2005" />
ในงานวิจัยในคน[[สวีเดน]]และคน[[เดนมาร์ก]]
ความมีระยะที่ห่างระหว่าง[[การหลั่งน้ำอสุจิ]]ทำให้ตัวอสุจิมีจำนวนสูงขึ้น
แต่ไม่ได้ทำปริมาณน้ำอสุจิให้เพิ่มขึ้น<ref>{{cite journal |doi=10.1093/humrep/17.9.2468 |title=Higher sperm counts in Southern Sweden compared with Denmark |year=2002 |last1=Richthoff |first1=J. |journal=Human Reproduction |volume=17 |issue=9 |pages=2468–73 |pmid=12202443 |last2=Rylander |first2=L |last3=Hagmar |first3=L |last4=Malm |first4=J |last5=Giwercman |first5=A}}</ref>

====การเพิ่มปริมาณน้ำอสุจิ====
มีบริษัทบางบริษัทที่โฆษณา[[อาหารเสริม]]ที่เพิ่มปริมาณน้ำอสุจิ
แต่ก็เหมือนกับอาหารเสริมประเภทอื่น ๆ
อาหารเสริมพวกนี้ไม่ได้มีการอนุมัติหรือการควบคุมดูแลจากองค์กรควบคุมยาและอาหาร (เหมือนกับ[[ยาแผนปัจจุบัน]]มี)
และคำโฆษณาเหล่านั้นก็ไม่ได้มีการยืนยันโดยวิธีการทาง[[วิทยาศาสตร์]]
มีคำโฆษณาคล้าย ๆ กันอย่างนี้เกี่ยวกับพวกอาหารเสริมที่เป็นยาเร้าความกำหนัดอีกด้วย ซึ่งก็ขาดการยืนยันทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน

{{anchor|Illini Variable Temperature}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
===การเก็บน้ำอสุจิ===
น้ำอสุจิสามารถเก็บไว้ได้ในสารละลายบางอย่างเช่น ''Illini Variable Temperature'' (ตัวย่อ IVT)
ซึ่งประกอบด้วย[[เกลือ]]หลายชนิด [[น้ำตาล]]หลายชนิด ยาฆ่าเชื้อโรค และอัดก๊าซ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]<ref name=Watson1993/>
และมีรายงานว่าสามารถรักษาคุณภาพของน้ำอสุจิโดยวิธีนี้เป็นเวลาถึง 7 วัน<ref name=Watson1993>{{cite journal |doi=10.1071/RD9930691 |title=The potential impact of sperm encapsulation technology on the importance of timing of artificial insemination: A perspective in the light of published work |year=1993 |last1=Watson |first1=PF |journal=Reproduction, Fertility and Development |volume=5 |issue=6 |pages=691–9 |pmid=9627729}}</ref>

{{ข้อมูลเพิ่มเติม|ธนาคารอสุจิ}}
สำหรับการเก็บระษาไว้ในระยะยาว สามารถใช้วิธีแช่แข็ง (Semen cryopreservation)
สำหรับอสุจิมนุษย์ รายงานระยะการเก็บรักษาที่ยาวที่สุดที่ใช้การได้ด้วยวิธีนี้ก็คือ 21 ปี<ref>{{cite press release |title=Child born after 21 year semen storage using Planer controlled rate freezer |publisher=Planer |url=http://www.planer.com/company/news/older-news-stories/335-child-born-after-21-year-semen-storage-using-planer-controlled-rate-freezer-.html |accessdate=August 23, 2013}}</ref>

==ผลต่อสุขภาพ==
นอกจากหน้าที่ทาง[[การผสมพันธุ์]]แล้ว
งานวิจัยบางงานอ้างว่า น้ำอสุจิมีผลดีอื่น ๆ ต่อ[[สุขภาพ]]อีกด้วย คือ
*ยาต้านความซึมเศร้า - งานวิจัยหนึ่งพบว่า [[การดูดซึม]]น้ำอสุจิทาง[[ช่องคลอด]]สามารถมีฤทธิ์เป็นยาต้านความซึมเศร้า งานวิจัยนี้เปรียบเทียบหญิงสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่ง[[ร่วมเพศ]]โดยใช้[[ถุงยางอนามัย]]และอีกกลุ่มหนึ่งไม่ใช้<ref>{{Cite journal | author = Jesse Bering | title = An ode to the many evolved virtues of human semen | journal = Scientific American | year = 2010 | url = http://blogs.scientificamerican.com/bering-in-mind/2010/09/22/an-ode-to-the-many-evolved-virtues-of-human-semen/ }}</ref><ref name="Gordon Gallup 2002 289–293">{{cite journal |doi=10.1023/A:1015257004839 |year=2002 |last1=Gallup |first1=Gordon G. |last2=Burch |first2=Rebecca L. |last3=Platek |first3=Steven M. |journal=Archives of Sexual Behavior |volume=31 |issue=3 |pages=289–93 |pmid=12049024 |title=Does semen have antidepressant properties?}}</ref><ref>[http://www.rcpsycht.org/detail_title.php?news_id=77 Sex อาหารเสริมเพิ่มพลังกายและพลังใจ (ตีพิมพ์ในนิตยสารHealthToday ฉบับเดือนสิงหาคม 48) (2005-08-04) ประโยชน์ของ sex ข้อ 5]</ref>
*การป้องกันมะเร็ง - งานวิจัยหลายงานบอกเป็นนัยว่า พลาสมาของน้ำอสุจิอาจลดระดับ[[มะเร็งเต้านม]] "ไม่ต่ำกว่า 50%"<ref>{{cite journal |doi=10.1016/0895-4356 (89) 90121-2 |title=Characteristics of reproductive life and risk of breast cancer in a case-control study of young nulliparous women |year=1989 |last1=Lê |first1=Monique G. |last2=Bachelot |first2=Annie |last3=Hill |first3=Catherine |journal=Journal of Clinical Epidemiology |volume=42 |issue=12 |pages=1227–33 |pmid=2585013}}</ref><ref>{{cite journal |doi=10.1016/0306-9877 (78) 90051-8 |title=Barrier contraceptive practice and male infertility as related factors to breast cancer in married women |year=1978 |last1=Gjorgov |first1=Arne N. |journal=Medical Hypotheses |volume=4 |issue=2 |pages=79–88 |pmid=642850}}</ref> โดยมีสันนิษฐานว่า มีเหตุจากองค์ประกอบคือ[[ไกลโคโปรตีน]]และธาตุ[[ซีลีเนียม]] โดยมี[[อะพอพโทซิส|การตายของเซลล์มะเร็ง]]ที่เริ่มโดยโปรตีน TGF-Beta ดังนั้น จึงมี[[ตำนานพื้นบ้าน]]ที่กล่าวตลกถึงผลงานวิจัยเหล่านี้ว่า การให้[[ออรัลเซ็กซ์]]อย่างน้อยอาทิตย์ละสามครั้งสามารถลดอัตราความเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม<ref>{{cite web
| title = Fellatio Breast Cancer Reduction
| url = http://www.snopes.com/inboxer/hoaxes/fellatio.asp }} Also at about.com [http://urbanlegends.about.com/od/medical/a/Fellatio-Breast-Cancer.htm Study: Fellatio May Significantly Decrease the Risk of Breast Cancer in Women]</ref>
*การป้องกันโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก (หรือความดันโลหิตสูงร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะซ้อนทับ) - มีสันนิษฐานว่า มีสารบางอย่างในน้ำอสุจิที่ปรับ[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]มารดา ให้สามารถรับโปรตีนแปลกปลอมที่พบทั้งในน้ำอสุจิทั้งในทารกและ[[รก]] จึงรักษา[[ความดันเลือด]]ให้อยู่ในระดับต่ำและดังนั้นจึงลดอัตราเสี่ยงต่อโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก งานวิจัยหนึ่งพบว่า การให้[[ออรัลเซ็กซ์]]และการกลืนน้ำอสุจิ อาจช่วยทำให้[[การตั้งครรภ์]]ปลอดภัยยิ่งขึ้น เพราะว่า เธอจะได้รับแอนติเจน<ref name=antigen /> จากคู่ครอง<ref>{{cite journal |doi=10.1016/S0165-0378 (99) 00062-5 |title=Correlation between oral sex and a low incidence of preeclampsia: A role for soluble HLA in seminal fluid? |year=2000 |last1=Koelman |first1=Carin A |last2=Coumans |first2=Audrey B.C |last3=Nijman |first3=Hans W |last4=Doxiadis |first4=Ilias I.N |last5=Dekker |first5=Gustaaf A |last6=Claas |first6=Frans H.J |journal=Journal of Reproductive Immunology |volume=46 |issue=2 |pages=155–66 |pmid=10706945}}</ref>
*การมีอารมณ์เพศที่สูงขึ้น - มีสมมุติฐานหนึ่งว่า การดูดซึม[[ฮอร์โมนเพศชาย]]ในน้ำอสุจิผ่านผนัง[[ช่องคลอด]]ในขณะมีเพศสัมพันธ์ (หรือผ่านการกลืนน้ำอสุจิ) อาจทำให้ผู้หญิงมีอารมณ์เพศสูงขึ้น

แต่มีงานวิจัยอื่นที่แสดงผลเสีย
*ทำมะเร็งให้แย่ลง - พลาสมาของน้ำอสุจิมี[[โพรสตาแกลนดิน]]ซึ่งอาจจะเป็นตัวเร่งโรค[[มะเร็งปากมดลูก]]ที่มีอยู่แล้ว<ref>{{cite journal |doi=10.1210/en.2005-1429 |title=Seminal Plasma Promotes the Expression of Tumorigenic and Angiogenic Genes in Cervical Adenocarcinoma Cells via the E-Series Prostanoid 4 Receptor |year=2006 |last1=Muller |first1=M. |journal=Endocrinology |volume=147 |issue=7 |pages=3356–65 |pmid=16574793 |last2=Sales |first2=KJ |last3=Katz |first3=AA |last4=Jabbour |first4=HN}}</ref>

===การเป็นสื่อของโรค===
น้ำอสุจิเป็นสื่อของ[[โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์]]มากมายหลายอย่างรวมทั้ง[[เอชไอวี]] ซึ่งเป็นเชื้อ[[ไวรัส]]ที่ทำให้เกิดโรค[[เอดส์]]

มีงานวิจัยอื่น
ที่แสดงว่ามีการสร้าง[[แอนติบอดี]]ที่ไม่เคยมีมาก่อนเพื่อตอบสนองต่อน้ำอสุจิ
และแอนติบอดีเหล่านี้จะระบุเซลล์[[เม็ดเลือดขาว]]แบบ T ที่มีอยู่ในร่างกายว่าเป็นสิ่งแปลกปลอม
ดังนั้นเซลล์ T ก็จะถูกทำลายโดยเซลล์[[เม็ดเลือดขาว]]อีกแบบหนึ่งคือแบบ B<ref>{{cite journal |doi=10.1111/j.1600-0897.1981.tb00142.x |title=Cross-Reactivity of Sperm and T Lymphocyte Antigens |year=1981 |last1=Mathur |first1=Subbi |last2=Goust |first2=Jean-Michel |last3=Williamson |first3=H. Oliver |last4=Fudenberg |first4=H. Hugh |journal=American Journal of Reproductive Immunology |volume=1 |issue=3 |pages=113–8 |pmid=6175235}}</ref>

น้ำอสุจิมี[[โปรตีน]]หลายชนิดที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรค เชื้อรา และเชื้อไวรัส
แต่กลับไม่มีผลต่อเชื้อโกโนเรีย
ซึ่งเป็น[[โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์]]ที่สามัญ

{{anchor|hematospermia}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
===เลือดในน้ำอสุจิ (hematospermia)===
เลือดในน้ำอสุจิหรือภาวะ '''hematospermia''' อาจจะมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (คือต้องดูด้วย[[กล้องจุลทรรศน์]])
หรืออาจจะมองเห็นได้
ซึ่งอาจเกิดขึ้นเพราะ[[การอักเสบ]] [[การติดเชื้อ]] การอุดตัน
หรือความบาดเจ็บในระบบอวัยวะสืบพันธุ์
หรือมีปัญหาใน[[ท่อปัสสาวะ]] [[อัณฑะ]] หลอดเก็บตัวอสุจิ หรือ[[ต่อมลูกหมาก]]
เป็นภาวะที่หายเองโดยไม่ต้องทำอะไร หรือสามารถบำบัดได้โดย[[ยาปฏิชีวนะ]]
แต่ถ้าไม่หายเอง อาจจะต้องตรวจโดยการวิเคราะห์น้ำอสุจิ หรือทำการตรวจอวัยวะเพศและทางเดินปัสสาวะ เพื่อหาสาเหตุ

{{anchor|allergy}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
===ภูมิแพ้ต่อน้ำอสุจิ===
ในกรณีที่มีน้อย บางคนอาจจะแพ้น้ำอสุจิ
(ที่เรียกว่า human seminal plasma hypersensitivity)<ref>{{cite journal |doi=10.1016/S0151-9638 (05) 79221-8 |title=Vulvite d'hypersensibilité aux protéines séminales : 3 cas |trans_title=Vulvar contact dermatitis due to seminal allergy: 3 cases |language=French |year=2005 |last1=Guillet |first1=G. |last2=Dagregorio |first2=G. |last3=Guillet |first3=M.-H. |journal=Annales de Dermatologie et de Vénéréologie |volume=132 |issue=2 |pages=123–5 |pmid=15798560}}</ref>
อาการอาจจะจำกัดเป็นที่ ๆ หรืออาจเกิดขึ้นทั้งตัว
อาการอาจเกิดขึ้นที่[[ช่องคลอด]]เช่นคัน แดงผิดปกติ บวม หรือเกิดการพองภายใน 30 นาทีที่กระทบสัมผัส
หรืออาจจะเกิดอาการคันทั้งตัว ลมพิษ และแม้แต่การหายใจลำบาก

วิธีพิสูจน์ก็คือให้ใช้[[ถุงยางอนามัย]]ขณะมี[[เพศสัมพันธ์]]
ถ้าอาการลดลง แสดงว่าอาจจะแพ้น้ำอสุจิ
กรณีที่มีอาการเบา สามารถบำบัดให้หายได้โดยให้ถูกกับน้ำอสุจิซ้ำ ๆ กัน<ref>{{cite book |doi=10.1159/000087830 |chapter=IgE-Mediated Allergy against Human Seminal Plasma |title=Immunology of Gametes and Embryo Implantation |series=Chemical Immunology and Allergy, 2005 |year=2005 |last1=Weidinger |first1=Stephan |last2=Ring |first2=J. |last3=Köhn |first3=F.M. |isbn=3-8055-7951-9 |pages=128–38 |pmid=6129942}}</ref>
แต่ถ้ามีอาการรุนแรง ควรจะปรึกษาหมอ
โดยเฉพาะถ้ากำลังพยายามเพื่อ[[ตั้งครรภ์]] ซึ่งอาจจะทำได้โดยใช้วิธีผสมเทียม

{{anchor|postorgasmic}}
{{ข้อมูลเพิ่มเติม|การหลั่งน้ำอสุจิ#postorgasmic}}
นักวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยยูเทรกต์ในเมือง[[ยูเทรกต์ (เมือง)|ยูเทรกต์]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] กำลังทำการศึกษาเกี่ยวกับภาวะอย่างหนึ่ง
ที่ชายบางคน "เกิดอาการคล้ายหวัดเช่น ตัวร้อน น้ำมูกไหล
[[ความล้า|ล้า]]จัด และคันตาทันทีหลังจาก[[การหลั่งน้ำอสุจิ|หลั่งน้ำอสุจิ]]
และอาการสามารถดำเนินต่อไปเป็นอาทิตย์"<ref name="POIS">{{cite news|title=Semen allergy suspected in rare post-orgasm illness|author=Kate Kelland|location=LONDON|date=Jan 17, 2011|url=http://www.reuters.com/article/2011/01/17/us-semen-allergy-idUSTRE70G00D20110117?loomia_ow=t0:s0:a49:g43:r2:c0.070894:b41084762:z0|publisher=Reuters}}</ref>
ภาวะนี้เรียกว่า Postorgasmic illness syndrome (แปลว่ากลุ่มอาการเจ็บป่วยหลังการถึงจุดสุดยอด)
นักวิจัยพบว่า เกิดจากการแพ้น้ำอสุจิของตนเอง
และสามารถรักษาได้โดยวิธีที่ใช้รักษาภูมิแพ้ (allergen immunotherapy)<ref name="POIS"/>==มุมมองทางจิตใจ==
งานวิจัยเร็ว ๆ นี้งานหนึ่งบอกเป็นนัยว่า น้ำอสุจิมีฤทธิ์เป็นยาต้านความซึมเศร้าสำหรับผู้หญิง
คือ หญิงที่ได้รับน้ำอสุจิผ่าน[[ช่องคลอด]]มีโอกาสเสี่ยงต่อ[[ภาวะซึมเศร้า]]ที่น้อยกว่า
สันนิษฐานกันว่า ผลทางใจอย่างนี้เป็นเพราะองค์ประกอบซับซ้อนทางเคมีของน้ำอสุจิ
รวมทั้ง[[ฮอร์โมน]]ที่เปลี่ยนอารมณ์ความรู้สึก
(เช่น[[ฮอร์โมนเพศชาย]], oestrogen, ฮอร์โมนที่ทำให้เกิดขน, luteinizing hormone, prolactin, และ[[โพรสตาแกลนดิน]]หลายประเภท)
คือ ในงานสำรวจทางวิทยาศาสตร์ในนักศึกษามหาวิทยาลัยหญิง 293 คน พบว่า ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ใช้[[ถุงยางอนามัย]]
มีโอกาสมากขึ้นที่จะเป็นผู้เริ่มเพศสัมพันธ์ และหาคู่ขาใหม่เมื่อแยกจากคนเดิม
ซึ่งบอกเป็นนัยว่า เกิดภาวะพึ่งพิงองค์ประกอบเคมี (chemical dependency) ของน้ำอสุจิ
แต่ว่า ผลของน้ำอสุจิต่อคู่ขาที่เป็นชายยังไม่ปรากฏ<ref name="Gordon Gallup 2002 289–293"/><ref>{{cite web | author = Tiffany Kary | title = Crying Over Spilled Semen |url=http://www.psychologytoday.com/articles/200210/crying-over-spilled-semen | work= Psychology Today | year = 2002 | accessdate = 2013-11-09}}</ref><ref>{{cite web | author = Raj Persaud | title = Semen acts as an anti-depressant |url=http://www.newscientist.com/article/dn2457 | work = New Scientist | date =26 June 2002}}</ref>

==มุมมองทางวัฒนธรรมและปรัชญา==
===พุทธศาสนาเถรวาท===
สำหรับ[[พระภิกษุ]]ของ[[พุทธศาสนา]]ฝ่ายเถรวาท การจงใจทำน้ำอสุจิให้เคลื่อนเป็น[[อาบัติ]]หนักคืออาบัติสังฆาทิเสส ซึ่งในพระ[[พุทธพจน์]]ทรงเจาะจงไว้ว่าเป็น การ "ทำให้เคลื่อน"<ref name="etip252">E-Tipitaka 2.1.2 อ้างอิงพระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬา (ภาษาไทย) เล่มที่ 1 พระวินัยปิฎกเล่มที่ 1 มหาวิภังค์ ภาค 1 หน้าที่ 252 ข้อ 237</ref> ซึ่งอธิบายเพิ่มขึ้นว่าเป็น "กิริยาที่ทำให้เคลื่อนจาก''ฐาน''" ส่วนในคัมภีร์ชั้น[[อรรถกถา]]สรุปว่า "กายทั้งสิ้น"<ref name=attha>E-Tipitaka 2.1.2 อ้างอิงพระไตรปิฎก ฉบับมหามกุฏ (ภาษาไทย) เล่มที่ 3 พระวินัยปิฎกเล่มที่ 1 ภาค 3 มหาวิภังค์ ปฐมภาค หน้าที่ 100-101</ref> เป็น "''ฐาน''" (คือเป็นที่อยู่ของน้ำอสุจิ) แล้วอ้างว่า
{{quote|
จริงอย่างนั้น น้ำสมภพ (น้ำอสุจิ) ย่อมไหลออกทางหมวกหู (ขอบหูตอนบน) ทั้งสองของ[[ช้าง]]ทั้งหลาย ที่ถูกความกลัดกลุ้มด้วยราคะครอบงำแล้ว, และพระเจ้ามหาเสนะผู้ทรงกลัดกลุ้มด้วยราคะ ไม่ทรงสามารถจะอดทนกำลังน้ำสมภพได้ จึงรับสั่งให้ผ่าต้นพระพาหุ (แขน) ด้วยมีด ทรงแสดงน้ำสมภพซึ่งไหลออกทางปากแผล ฉะนั้นแล<ref name=attha />
}}
ดังนั้น คัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาทชั้น[[อรรถกถา]]จึงบอกเป็นนัยว่า น้ำอสุจิอาจจะไหลออกจากส่วนใดของร่างกายก็ได้ เพราะกายทั้งสิ้นเป็น "''ฐาน''" ของน้ำอสุจิ

นอกจากนั้นแล้ว ในพระพุทธพจน์ยังกำหนดสีของน้ำอสุจิไว้อีกด้วยว่า
{{quote|น้ำอสุจิมี 10 ชนิด คือ (1) อสุจิสีเขียว (2) อสุจิสีเหลือง (3) อสุจิสีแดง (4) อสุจิสีขาว (5) อสุจิสีเหมือนเปรียง (6) อสุจิสีเหมือนน้ำท่า (น้ำในแม่น้ำลำคลอง) (7) อสุจิสีเหมือนน้ำมัน (8) อสุจิสีเหมือนนมสด (9) อสุจิสีเหมือนนมส้ม (10) อสุจิสีเหมือนเนยใส<ref name="etip252" />}}

===ชี่กง===
[[ชี่กง]]และ[[แพทย์แผนจีน]]เน้นพลังอย่างหนึ่งที่เรียกว่า
精 ([[ภาษาจีน]]: jīng, หยิน ซึ่งหมายถึง "แก่นสาร" หรือ "วิญญาณ")<ref>[http://www.chikung.com/wp-content/files/chikungbible.pdf Qigong Bible, Chapter #8], by Gary J. Clyman. Contribution To Clyman's Book by Frank Ranz, January 1989</ref><ref>{{cite web|url=http://www.hunyuantaijiacademy.com/Articles/On%20Qigong.aspx|archiveurl=//web.archive.org/web/20070930101010/http://www.hunyuantaijiacademy.com/Articles/On%20Qigong.aspx|archivedate=2007-09-30 |title=Home |publisher=hunyuantaijiacademy.com |accessdate=2012-02-05}}</ref>
ซึ่งบุคคลหนึ่งต้องพยายามสะสม
หยิน เป็นพลังทางเพศ
ที่ถือว่า ถูกปล่อยออกไปเมื่อมี[[การหลั่งน้ำอสุจิ]] ดังนั้น [[การช่วยตัวเอง]]จึงถือว่า เป็นการทำลายพลังสำหรับคนที่ฝึกวิชานี้
ทฤษฎีชี่กงบอกว่า พลังลมปราณจะส่งไปทางอวัยวะเพศเมื่อเกิด[[อารมณ์ทางเพศ]]
การถึง[[จุดสุดยอด]]และ[[การหลั่งน้ำอสุจิ]]จะเป็นการปล่อยพลังเหล่านั้นไปจากร่างกาย
สุภาษิตจีนว่า 一滴精,十滴血 ([[ภาษาจีน]]: yì dī jīng, shí dī xuè, แปลโดยบทว่า: น้ำอสุจิหยดหนึ่งมีค่าเท่ากับเลือดสิบหยด) แสดงให้เห็นถึงความคิดแนวนี้

คำวิทยาศาสตร์จีนของน้ำอสุจิก็คือ 精液 ([[ภาษาจีน]]: jīng yè, แปลโดยบทว่า: หยดแก่นสาร/หยดหยิน)
และคำของ[[ตัวอสุจิ]]ก็คือ 精子 ([[ภาษาจีน]]: jīng zǐ, แปลโดยบทว่า: ธาตุของแก่นสาร/ธาตุของหยิน)
ซึ่งเป็นคำศัพท์ปัจจุบันที่มีการเท้าความเดิม

===ปรัชญากรีก===
ในสมัย[[กรีกโบราณ]] [[อาริสโตเติล]]ได้ให้ความสำคัญของน้ำอสุจิ นักเขียนคนหนึ่งได้กล่าวไว้ว่า
"สำหรับอาริสโตเติลแล้ว น้ำอสุจิเป็นสิ่งที่มาจากอาหาร
มาจาก[[เลือด]] และมีการปรุงให้เป็นสารที่ยอดเยี่ยม อยู่ที่อุณหภูมิที่ยอดเยี่ยม
ซึ่งผู้ชายเท่านั้นหลั่งออกได้
เป็นผลจากธรรมชาติของผู้ชาย ที่มีระดับไฟธาตุที่ขาดไม่ได้ในการเปลี่ยนเลือดให้เป็นน้ำอสุจิ"<ref>{{Cite book
| last = Salmon
| first = J.B.
| authorlink =
| coauthors = L. Foxhall
| title = Thinking Men: Masculinity and Its Self-representation in the Classical Tradition
| publisher = Routledge
| year = 1998
| location =
| page = 158
| url =
| doi =
| id =
| isbn = }}</ref>
อาริสโตเติลคิดว่า มีความสัมพันธ์กันโดยตรงระหว่างอาหารและน้ำอสุจิ คือ
"น้ำอสุจิเป็นการขับสารอาหารออก หรือจะพูดให้ชัดกว่านี้ก็คือ
เป็นการขับส่วนที่สมบูรณ์ที่สุดของอาหารออก"<ref>{{cite journal |doi=10.1192/bjp.184.3.200 |title=Culture-bound syndromes: The story of dhat syndrome |year=2004 |last1=Sumathipala |first1=A. |journal=The British Journal of Psychiatry |volume=184 |issue=3 |page=200 |pmid=14990517}}</ref>

ความสัมพันธ์ของอาหารเพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตของร่างกายในทางหนึ่ง
และความสัมพันธ์ของอาหารกับน้ำอสุจิในอีกทิศทางหนึ่ง
ทำให้อาริสโตเติลเตือนไม่ให้
"มีกิจกรรมทางเพศเมื่ออายุน้อย...
เพราะจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย
คือ อาหารที่ใช้ในการเจริญเติบโตของร่างกาย จะถูกนำไปใช้เพื่อการผลิตน้ำอสุจิ...
อาริสโตเติลกล่าวว่า นี้หมายถึงช่วงที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต
ดังนั้น ช่วงอายุที่ดีที่สุดเพื่อเริ่มกิจกรรมทางเพศก็คือเมื่อไม่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแล้ว
เพราะว่า เมื่อร่างกายเติบโตถึงระดับที่สูงที่สุดแล้ว
การเปลี่ยนสารอาหารไปเป็นน้ำอสุจิไม่ได้ทำให้ร่างกายขาดวัสดุที่ใช้เพื่อการเติบโต"<ref>{{Cite book
| last = Aristotle
| first =
| authorlink = Aristotle
| coauthors = Richard Kraut (trans.)
| title = Politics
| publisher = Oxford UP
| year = 1997
| location =
| page = 152
| url = http://books.google.com/?id=TxCYKEtShewC&pg=PA152&vq=semen
| doi =
| id =
| isbn = 978-0-19-875114-4
| accessdate = 2013-11-09}}</ref>

นอกจากนั้นแล้ว "อาริสโตเติลยังบอกเราว่า เขตรอบ ๆ ตา
เป็นเขตที่อุดมสูงสุดของ 'พืช' ในศีรษะ
เป็นทฤษฎีที่อธิบายผลที่เกิดขึ้นต่อตาเมื่อมี[[เพศสัมพันธ์]]มากเกินไป
และระบุถึงความคิดที่บอกว่า ตัวอสุจิมาจากน้ำที่อยู่รอบ ๆ ตา"<ref>{{Cite book|last=Onians|first=R. B.|title=The Origins of European Thought|publisher=Cambridge|year=1951|page=203|isbn=0-405-04853-X}}</ref>
นี่อาจจะอธิบายความคิดลัทธิของ[[พิทาโกรัส]]ว่า "น้ำอสุจิเป็นหยดหนึ่งของสมอง (τὸ δε σπέρμα εἶναι σταγόνα ἐγκέφαλου)."<ref>[http://fxylib.znufe.edu.cn/wgfljd/%B9%C5%B5%E4%D0%DE%B4%C7%D1%A7/pw/diogenes/dlpythagoras.htm Diogenes Laertius, ''Life of Pythagoras'', 19.] {{Cite book|first=Justin E. H.|last=Smith|year=2006|title=The Problem of Animal Generation in Early Modern Philosophy|publisher= Concordia University|location=Montreal|page=5|isbn=978-0-511-21763-0 |url=http://www.cambridge.org/us/academic/subjects/philosophy/philosophy-science/problem-animal-generation-early-modern-philosophy}}</ref>

เชื่อกันว่า ผู้หญิงก็มีน้ำอสุจิแบบของตนเองเช่นกัน
ซึ่งมีอยู่ใน[[มดลูก]]และเกิดการปล่อยเมื่อถึง[[จุดสุดยอด]]
การมีน้ำอสุจิค้าง (คือไม่มีการปล่อย) เชื่อว่าเป็นเหตุของโรคฮิสทีเรียในหญิง (female hysteria)<ref>{{cite book|last=Roach|first=Mary|title=Bonk : the curious coupling of science and sex|year=2009|publisher=W.W. Norton & Co|location=New York|isbn=9780393334791|page=214}}</ref>

===น้ำอสุจิศักดิ์สิทธิ์===
ในสังคมก่อนอุตสาหกรรมบางสังคม มีการถือว่าน้ำอสุจิและน้ำของร่างกายอย่างอื่น ๆ เป็นของศักดิ์สิทธิ์ (หรือขลัง)
[[โลหิต]]ก็เป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อนั้น
และก็มีความเชื่อว่า น้ำอสุจิเกิดขึ้นจากสิ่งเหนือธรรมชาติ
และดังนั้น จึงเป็นของศักดิ์สิทธิ์

น้ำค้างครั้งหนึ่งเชื่อกันว่า เป็นฝนประเภทที่ทำให้โลกอุดมสมบูรณ์
และจึงกลายมาเป็นตัวอุปมาของน้ำอสุจิ

มีการเชื่อกันอย่างกว้างขวางในยุคโบราณว่า
แก้วมณีเป็นหยดน้ำอสุจิจากสวรรค์ซึ่งเกิดการแข็งตัวหลังจากทำให้เกิดความอุดมสมบูรณ์แก่โลกแล้ว
มีความเชื่อโบราณของคนจีนว่า [[หยก]]เป็นน้ำอสุจิของ[[มังกร]]สวรรค์ที่แห้งแล้ว

ในตำนานเก่า ๆ รอบโลก
น้ำอสุจิมักจะเปรียบเหมือนกับนมแม่
ในวัฒนธรรมของ[[คนบาหลี]]บางเผ่า
การให้น้ำอสุจิเป็นเป็นการทดแทนนมแม่โดยเป็น[[อุปมา]]เกี่ยวเนื่องกับอาหาร คือ
ภรรยาทำอาหารให้กับสามี ผู้ทำการทดแทนโดยให้น้ำอสุจิ ซึ่งเป็น "น้ำนมแห่งความเมตตา"<ref>{{cite book |last1=Bellows |first1=Laura J. |year=2003 |title=Personhood, procreative fluids, and power: re-thinking hierarchy in Bali |oclc=224223971}}{{page needed|date=August 2013}}</ref>

ในปรัชญาทางการแพทย์บางอย่าง เช่นการแพทย์แผนโบราณของคน[[รัสเซีย]]
น้ำอสุจิเชื่อกันว่าเป็นผลจากปฏิกิริยาทางกายที่ซับซ้อนระหว่างหญิงชาย
ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ผลิตภัณฑ์ของ[[ระบบสืบพันธุ์]]ในชาย{{Citation needed|date=June 2008}}

===น้ำอสุจิในงานจารกรรม===
[[ไฟล์:Sperma unter UV-Licht und ohne UV-Licht (Semen with and without Ultraviolet) .JPG|thumb|รอยเปื้อนน้ำอสุจิบนพรม ดูโดยใช้และไม่ใช้[[แสงอัลตราไวโอเลต]]]]
เมื่อหน่วย[[จารกรรม]] SIS ของประเทศอังกฤษพบว่า น้ำอสุจิสามารถใช้เป็นหมึกที่มองไม่เห็นอย่างดี
ผู้อำนวยการคนแรกของหน่วย SIS จึงได้ให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับจารบุรุษของเขาว่า "ทุกคนเป็นปากกาของตนเอง"<ref>[http://www.independent.co.uk/arts-entertainment/books/reviews/the-spymaster-who-was-stranger-than-fiction-737707.html The Independent review of ''The Quest for C: Mansfield Cumming and the founding of the British Secret Service'' by Alan Judd]</ref>

==การกินน้ำอสุจิ==
เหตุผลของการกินน้ำอสุจิของมนุษย์หรือของสัตว์อื่น ก็เพื่อความพึงใจทางเพศ และเพื่อประโยชน์ทางร่างกายและจิตใจอื่น ๆ

===ความเสี่ยงต่อสุขภาพ===
ไม่มีความเสี่ยงต่อการกินน้ำอสุจิของชายที่มีสุขภาพดี
คือ การกลืนน้ำอสุจิไม่ทำให้มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นอีกจากการมี[[ออรัลเซ็กซ์]]
ซึ่งปกติก็เสี่ยงต่อ[[โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์]]เช่น[[เอชไอวี]]หรือ[[เริม]]อยู่แล้ว
โดยเฉพาะในบุคคลที่มีเลือดออกที่เหงือก มีโรคเหงือกอักเสบ หรือมีแผลที่ยังเปิดอยู่ในปาก<ref>Rosenthal, Sara. ''The Gynecological Sourcebook'', McGraw-Hill Professional, 2003, ISBN 0-07-140279-9 p151</ref>

แม้ว่า น้ำอสุจิอาจจะเย็นหมดแล้วก่อนที่จะกินเข้าไป
แต่เชื้อ[[ไวรัส]]ก็สามารถรอดอยู่ได้เป็นระยะเวลานานแม้ว่าจะออกมานอกร่างกายแล้ว

งานวิจัยยังบอกเป็นนัยด้วยว่า การมี[[ออรัล เซ็กส์]]โดยไม่มีการป้องกันกับบุคคลที่มีเชื้อ human papillomavirus (HPV) อาจจะเพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งปากหรือมะเร็งคอ
งานวิจัยพบว่า 36% ของคนไข้มะเร็งปากและคอมีเชื้อ HPV เทียบกับกลุ่มควบคุม
เชื่อกันว่า มะเร็งของคนไข้เหล่านั้นเป็นผลของการติดเชื้อ HPV
เพราะว่า เชื้อไวรัสนี้เป็นเหตุของมะเร็งปากมดลูกโดยมาก<ref>{{cite web|url=http://www.bio-medicine.org/medicine-news/Oral-Sex-Linked-To-Mouth-Cancer-Risk-5772-1/ |title=Oral Sex Linked To Mouth Cancer Risk ( One of the studies conducted at the Joh...) |publisher=Bio-medicine.org |accessdate=2012-02-05}}</ref>

===ประโยชน์ทางกาย===
น้ำอสุจิที่หลั่งออกโดยเฉลี่ย (3.4 [[มิลลิลิตร]]) จะมีสารอาหารเช่นธาตุ[[สังกะสี]] [[แคลเซียม]] และ[[โพแทสเซียม]] และ[[วิตามินบี 12]] อยู่เล็กน้อย<ref>[http://www.news-medical.net/health/Swallowing-Semen.aspx Swallowing Semen]{{full|date=August 2013}}</ref>
งานวิจัยที่มีตัวอย่างน้อยส่วนหนึ่งพบประโยชน์ต่อสุขภาพในการกินน้ำอสุจิ

ความเป็นหมันของหญิงบางชนิด โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก และ[[การแท้ง]]
สามารถเกิดจาก[[แอนติบอดี]]ที่เข้าไปทำลาย[[โปรตีน]]หรือแอนติเจน<ref name=antigen />ในน้ำอสุจิของผู้ชาย
แต่เมื่อทำ[[ออรัลเซ็กซ์]]แล้วกลืนน้ำอสุจิขอคู่ขาเข้าไป
อาจทำ[[การตั้งครรภ์|การมีครรภ์]]ให้ปลอดภัยยิ่งขึ้น ประสบผลสำเร็จยิ่งขึ้น<ref>{{cite journal |pmid=10706945 |year=2000 |last1=Koelman |first1=CA |last2=Coumans |first2=AB |last3=Nijman |first3=HW |last4=Doxiadis |first4=II |last5=Dekker |first5=GA |last6=Claas |first6=FH |title=Correlation between oral sex and a low incidence of preeclampsia: A role for soluble HLA in seminal fluid? |volume=46 |issue=2 |pages=155–66 |journal=Journal of reproductive immunology |doi=10.1016/S0165-0378 (99) 00062-5}}</ref>

ยังไม่มีงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่เช็คดูว่าการกลืนน้ำอสุจิมีผลต้านความซึมเศร้าหรือไม่ (แต่มีจากการดูดซึมผ่านช่องคลอด)
แต่ว่า น้ำอสุจิมี[[สารประกอบ]]ที่สามารถเปลี่ยน[[อารมณ์]]ความรู้สึกได้เช่น
[[เอ็นดอร์ฟิน]], estrone, prolactin, oxytocin, thyrotropin-releasing hormone, และ[[เซโรโทนิน]]
ประโยชน์ที่พบที่เกิดจากสารประกอบเหล่านี้ พบแต่ในงานวิจัยเกี่ยวกับ[[การดูดซึม]]ผ่าน[[ช่องคลอด]]เท่านั้น<ref>[http://www.psychologytoday.com/blog/all-about-sex/201101/attention-ladies-semen-is-antidepressant Attention, Ladies: Semen Is An Antidepressant]{{full|date=August 2013}}</ref><ref>{{cite web |last=Bering |first=Jesse |title=An Ode to the Many Evolved Virtues of Human Semen |url=http://blogs.scientificamerican.com/bering-in-mind/2010/09/22/an-ode-to-the-many-evolved-virtues-of-human-semen/ |work=Scientific American |date=Sep 22, 2010}}</ref>

===พฤติกรรมในวัฒนธรรมต่าง ๆ===
ในบางวัฒนธรรม น้ำอสุจิมีคุณสมบัติบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับความเป็นชาย
เช่น คนหลายเผ่าจาก[[ปาปัวนิวกินี]]รวมทั้งคน[[แซมเบีย]]และคน Etoro
เชื่อว่า น้ำอสุจิช่วยบูรณาการความเป็นชายให้สมบูรณ์ในเยาวชนชาย
คือ น้ำอสุจิของผู้อาวุโสของเผ่า มีธรรมชาติของความเป็นชาย
และเพื่อที่จะสืบช่วงต่อจากผู้อาวุโสเหล่านั้น
ชายที่อายุน้อยกว่าซึ่งเป็นคนรุ่นต่อไปต้องให้[[ออรัลเซ็กซ์]]กับผู้อาวุโสและกินน้ำอสุจิ
เยาวชนทั้งก่อนวัยรุ่นและหลังวัยรุ่นต้องผ่านพิธีการเช่นนี้<ref>Robert T. Francoeur, Raymond J. Noonan (2004) [http://books.google.com/books?id=dciuj1-F3fYC&pg=PA819 ''The Continuum Complete International Encyclopedia of Sexuality''] p.819</ref><ref>[http://www.gettingit.com/article/56 Semen Warriors Of New Guinea], Hank Hyena, September 16, 1999</ref>
ประเพณีเช่นนี้สัมพันธ์กับความนิยมในความ[[รักร่วมเพศ]]ที่พบในคนเผ่าเหล่านี้และอื่น ๆ<ref>{{Cite book
| last = Herdt
| first = Gilbert (editor)
| authorlink =
| coauthors =
| title = Ritualized Homosexuality in Melanesia
| publisher = University of California Press
| date = January 28, 1993
| location =
| pages =
| url = http://www.ucpress.edu/book.php?isbn=9780520080966
| doi =
| isbn = 0-520-08096-3 }}
</ref>

==ดูเพิ่ม==
* [[ตัวอสุจิ]]
* [[การสร้างเสปิร์ม]]

==เชิงอรรถและอ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|30em}}
{{รายการอ้างอิง|30em}}


==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูล==
{{Commons category|Semen}}
*{{cite AV media|title=Human sperm under a microscope |trans_title=ตัวอสุจิมนุษย์ใต้กล้องจุลทรรศน์] |format=flv |quote=ตัวอสุจิมนุษย์ใต้กล้องจุลทรรศน์ ขยาย 400 เท่า แสดงการเคลื่อนไหวและรูปร่างสัณฐาน สามารถเห็นตัวอสุจิที่ไม่เคลื่อนที่และเคลื่อนที่ |url=http://www.youtube.com/watch?v=6rauO_M9tb4 |accessdate=14 พฤษภาคม 2557 |publisher=YouTube }}
* [http://www.teenpath.net/content.asp?ID=17 น้ำอสุจิ] teenpath.net
*{{Cite journal |doi=10.1016/S0378-4347 (00) 00039-6 |title=Separation and quantification of cholesterol and major phospholipid classes in human semen by high-performance liquid chromatography and light-scattering detection |year=2000 |last1=Grizard |first1=G |last2=Sion |first2=B |last3=Bauchart |first3=D |last4=Boucher |first4=D |journal=Journal of Chromatography B: Biomedical Sciences and Applications |volume=740 |pages=101–7 |pmid=10798299 |issue=1}}
*[http://www.mefeedia.com/entry/1020079/ SUNY Podcast – Semen study results]
*{{cite web |url=http://www.salon.com/2000/08/21/hyena_essay/ |title=The quest for sweet semen |first=Hank |last=Hyena |date=August 21, 2000 |work=Salon.com |publisher=Salon Media Group, Inc.}}


*


[[หมวดหมู่:เพศศึกษา]]
[[หมวดหมู่:เพศศึกษา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:35, 11 กรกฎาคม 2561

น้ำอสุจิ

ฝากfollow instragram k.oun

ตัวอสุจิของมนุษย์ เป็นองค์ประกอบหลักในน้ำอสุจิปกติ และเป็นตัวที่ทำการผสมพันธุ์กับไข่ของผู้หญิง (ขยายขนาด 1,000 เท่า)
แผนผังตัวอสุจิของมนุษย์ ส่วนหัวแสดง Acrosome

แหล่งข้อมูลอ