ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกยูง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


ในความเชื่อของชาวล้านนา เชื่อว่า นกยูงเป็นปางหนึ่งของ[[สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]<ref>{{cite web|url=https://www.facebook.com/osotho/posts/10153044330740169|title= "แดนสวรรค์ ดอยภูนาง" |date=12 February 2015|accessdate=19 February 2015|publisher=อนุสารอ.ส.ท.}}</ref>
ในความเชื่อของชาวล้านนา เชื่อว่า นกยูงเป็นปางหนึ่งของ[[สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]<ref>{{cite web|url=https://www.facebook.com/osotho/posts/10153044330740169|title= "แดนสวรรค์ ดอยภูนาง" |date=12 February 2015|accessdate=19 February 2015|publisher=อนุสารอ.ส.ท.}}</ref>


นกยูงมีเสียงร้องที่ทุเรศมากๆ คือเสียง
อร็อกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:05, 7 กรกฎาคม 2561

นกยูง
ส่วนหัวของนกยูงไทย (P. muticus)
ส่วนหัวของนกยูงอินเดีย (P. cristatus)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
อันดับ: Galliformes
วงศ์: Phasianidae
สกุล: Pavo
Linnaeus, 1758
ชนิด

นกยูง (อังกฤษ: Peacock, Peafowl) เป็นสัตว์ปีกจำพวกไก่ฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ มีจุดเด่นคือ เพศผู้มีขนหางยาวที่มีสีสันสวยงาม ที่เมื่อแผ่ขยายออกเพื่ออวดเพศเมียจะมีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง ที่เรียกว่า "รำแพน"[1]

นกยูงใช้ชื่อสกุลว่า Pavo ชอบอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบผสมตามริมลำธารในป่า มีพฤติกรรมมักร้องตอนเช้าหรือพลบค่ำ กินอาหารจำพวกเมล็ดพืช แมลง และสัตว์เล็ก ๆ มีการกระจายพันธุ์อยู่ทางเหนือของประเทศอินเดียไปทางทิศตะวันออกผ่านพม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซียและชวา [2]

นกยูงแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ

นกยูงไทยตัวผู้ขณะรำแพน
  • นกยูงไทย (Pavo muticus) มีหงอนบนหัวตั้งตรงเป็นกระจุก หนังข้างแก้มเป็นสีฟ้าและสีเหลือง ขนส่วนคอ หลัง ตลอดไปถึงปลายหางเป็นสีเขียว พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคตะวันออกชองอินเดียติดกับพม่า ภูมิภาคอินโดจีน และชวา[3]

ในความเชื่อของชาวล้านนา เชื่อว่า นกยูงเป็นปางหนึ่งของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า[4]


นกยูงมีเสียงร้องที่ทุเรศมากๆ คือเสียง อร็อกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก

อ้างอิง

  1. รำแพน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  2. http://www.prc.ac.th/tree_an_teen/p_muticus.htm
  3. ยูง ๑ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  4. ""แดนสวรรค์ ดอยภูนาง"". อนุสารอ.ส.ท. 12 February 2015. สืบค้นเมื่อ 19 February 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Pavo ที่วิกิสปีชีส์