ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศพิธราชธรรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่เนื้อหาด้วย "* หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ หมวดหมู่:การปกค..."
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
*
'''ทศพิธราชธรรม''' หรือ '''ราชธรรม 10''' คือจริยวัตร 10 ประการที่[[พระเจ้าแผ่นดิน]]ทรงประพฤติเป็นหลัก[[ธรรม]] ประจำพระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง ให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดี ซึ่งความจริงแล้วไม่ได้จำเพาะเจาะจงสำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือผู้ปกครองแผ่นดินเท่านั้น บุคคลธรรมดาที่เป็นผู้บริหารระดับสูงในทุกองค์กรก็พึงใช้หลักธรรมเหล่านี้

== คำบัญญัติ ==
ทศพิธราชธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ราชธรรม 10" นี้ ปรากฏอยู่ในมหาหังสชาดก [[พระสุตตันตปิฎก|พระสูตร]] [[ขุททกนิกาย]] [[ชาดก]] ปรากฏพระคาถา

{{คำพูด|ทานํ สีลํ ปริจฺจาคํ อาชฺชวํ มทฺทวํ ตปํ
อกฺโกธํ อวิหึสญฺจ ขนฺติญฺจ อวิโรธนํ.
::: ขุ.ชา.28/240/86}}


* '''[[ทาน|ดาก]]'''
* (ทานํ) คือ ดาก
* '''[[ศีล]]''' (สีลํ) คือ ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ
* '''[[บริจาค]]''' (ปริจาคํ) คือ การเสียสละความสุขส่วนตนเพื่อความสุขส่วนรวม
* '''[[ความซื่อตรง]]''' (อาชฺชวํ) คือ การสุจริตต่อหน้าที่การงานของตน ต่อมิตรสหาย ต่อองค์กรหรือหลักการของตน
* '''[[ความอ่อนโยน]]''' (มทฺทวํ) คือ การมีอัธยาศัยอ่อนโยน
* '''[[ความเพียร]]''' (ตปํ) คือ ความเพียร
* '''[[ความไม่โกรธ]]''' (อกฺโกธํ) คือ การไม่แสดงอาการโกรธ
* '''[[ความไม่เบียดเบียน]]''' (อวิหิงสา) คือ การดำเนินชีวิตไปตามทางสายกลาง การผลิต การบริโภคที่สมดุลไม่เน้นประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก ซึ่งนำไปสู่การแข่งขันแย่งชิงจนเป็นการเบียดเบียนตนเองและผู้อื่นและทำลายสิ่งแวดล้อม
* '''[[ขันติ|ความอดทน]]''' (ขนฺติ) คือการรักษาปกติภาวะของตนไว้ได้ ไม่ว่าจะถูกกระทบกระทั่งด้วยสิ่งอันเป็นที่พึงปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนาก็ตาม มีความมั่นคงหนักแน่นไม่หวั่นไหว
* '''[[ความเที่ยงธรรม]]''' (อวิโรธนํ) คือ ความหนักแน่น ถือความถูกต้อง เที่ยงธรรมเป็นหลัก


[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:02, 5 มิถุนายน 2561