ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดอลลี (แกะ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
hh
banana
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
มาจาก เซลล์ไลน์เดียวกับดอลลี งานวิจัยแรกที่รวบรวมผลทางสุขภาพระยะยาวของการโคลน ไม่พบหลักฐานเกี่ยวกับโรคกลุ่มที่ไม่ติดต่อ นอกจากตัวอย่างไม่กี่ตัวอย่างเกี่ยวกับอาการข้ออักเสบ<ref>{{cite web|last1=Sinclair|first1=K. D.|last2=Corr|first2=S. A.|last3=Gutierrez|first3=C. G.|last4=Fisher|first4=P. A.|last5=Lee|first5=J.-H.|last6=Rathbone|first6=A. J.|last7=Choi|first7=I.|last8=Campbell|first8=K. H. S.|last9=Gardner|first9=D. S.|title=Healthy ageing of cloned sheep|url=http://www.nature.com/ncomms/2016/160726/ncomms12359/full/ncomms12359.html|website=Nature Communications|pages=12359|language=en|doi=10.1038/ncomms12359|date=26 July 2016}}</ref><ref>{{cite news|last1=Klein|first1=Joanna|title=Dolly the Sheep’s Fellow Clones, Enjoying Their Golden Years|url=http://www.nytimes.com/2016/07/27/science/dolly-the-sheep-clones.html|accessdate=27 July 2016|work=The New York Times|date=26 July 2016}}</ref>
fjhkjehnfoklfojekfjkdgjrksghg

{{กล่องข้อมูล สัตว์|name=ดอลลี|image=Dolly face closeup.jpg|caption=ร่าง<span style="color: rgb (0, 0, 0) ; font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 13px;">สตัฟของดอลลี</span>|othername=6LLS (code name)|species=[[แกะ|แกะเลี้ยง Finn-Dorset]]|gender=เมีย|birth_date=5 กรกฎาคม 2539|birth_place=สถาบันรอสลิน [[เอดินบะระ|เมืองเอดินบะระ]] ประเทศสกอตแลนด์|death_date=14 กุมภาพันธ์ 2546 (อายุ 6 ปี)|death_place=สถาบันรอสลิน [[เอดินบะระ]] ประเทศสกอตแลนด์|resting_place=[[พิพิธภัณฑ์แห่งชาติสกอตแลนด์]] (จัดแสดงซาก)|nationality=อังกฤษ|known=สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโคลนตัวแรกซึ่งถูกโคลนจากเซลล์ร่างกายที่โตเต็มวัย|children= ลูกแกะ 6 ตัว (บอนนี่; คู่แฝด แซลลีและโรซี แฝดสาม ลูซี ดาร์ซี และคอตตอน)|namedafter=[[ดอลลี พาร์ตัน]]<ref name="BBC-97"/>}}

'''ดอลลี''' ({{lang-en|Dolly}}) (5 กรกฎาคม 2539 – 14 กุมภาพันธ์ 2546) เป็น [[แกะ]]เลี้ยงเพศเมีย และเป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ตัวแรกที่ถูกโคลนจาก[[เซลล์ร่างกาย]] (somatic cell) ของสัตว์โตเต็มวัย โดยใช้วิธี[[ถ่ายฝากนิวเคลียส]] (nuclear transfer)<ref>{{Cite journal|author=McLaren A |title=Cloning: pathways to a pluripotent future |journal=Science |volume=288 |issue=5472 |pages=1775–80 |date=2000 |pmid=10877698 |doi=10.1126/science.288.5472.1775}}</ref><ref name=Wilmut>{{Cite journal|display-authors=4|author=Wilmut I|author2=Schnieke AE|author3=McWhir J|author4=Kind AJ|author5=Campbell KH |title=Viable offspring derived from fetal and adult mammalian cells |journal=Nature |volume=385 |issue=6619 |pages=810–3 |date=1997 |pmid=9039911 | doi=10.1038/385810a0 |bibcode=1997Natur.385..810W}}</ref> ดอลลีถูกโคลนโดย [[เอียน วิลมุต]] (Ian Wilmut) [[คีธ แคมป์เบล]] (Keith Campbell) และผู้ร่วมงาน ณ สถาบันรอสลิน (Roslin Institute) ส่วนหนึ่งของ[[มหาวิทยาลัยเอดินบะระ]] ประเทศสกอตแลนด์ และบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ PPL Therapeutics ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับ[[เอดินบะระ]] เงินทุนในการโคลนดอลลีมาจากบริษัท PPL Therapeutics และกระทรวงการเกษตรของสหราชอาณาจักร<ref name=j1>{{Cite journal | doi = 10.1080/00141844.1999.9981606| title = Why dolly matters: Kinship, culture and cloning| journal = Ethnos| volume = 64| issue = 3–4| pages = 301–324| year = 1999| last1 = Edwards | first1 = J. }}</ref> มันเกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 และตายด้วยโรคทางปอดเมื่ออายุได้ 6 ปี 7 เดือน<ref name=BBC>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/2764039.stm "Dolly the sheep clone dies young"]. BBC News. 14 February 2003</ref> หลายสื่อ เช่น BBC News และ ''Scientific American'' ยกย่องให้มันเป็น "แกะดังที่สุดในโลก"<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/sci/tech/353617.stm |title=Is Dolly old before her time? |date=27 May 1999 |work=[[BBC News]] |accessdate=4 October 2009 | location=London}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://www.sciam.com/article.cfm?id=no-more-cloning-around|title=No More Cloning Around|last=Lehrman |first=Sally|date=July 2008|work=[[Scientific American]]|accessdate=21 September 2008}}</ref>

เซลล์ที่ใช้เป็นผู้บริจาคเพื่อโคลนดอลลี ถูกนำมาจาก [[Mammary gland|ต่อมน้ำนม]] และการที่สามารถสร้างโคลนที่แข็งแรงได้นั้นเป็นตัวพิสูจน์ว่า เซลล์จากส่วนหนึ่งของร่างกายสามารถนำมาสร้างสิ่งมีชีวิตได้ทั้งตัว วิลมุตกล่าวเกี่ยวกับชื่อของดอลลีว่า "ดอลลีมาจากเซลล์ต่อมน้ำนม และพวกเราไม่สามารถนึกถึงต่อมน้ำนมที่น่าประทับใจมากกว่าของ[[ดอลลี พาร์ตัน]] ได้"<ref name="BBC-97">{{cite news| url=http://news.bbc.co.uk/onthisday/hi/dates/stories/february/22/newsid_4245000/4245877.stm | work=BBC News | title=1997: Dolly the sheep is cloned | date=22 February 1997}}</ref>

== การเกิด ==
ดอลลีเกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และมีแม่ถึงสามตัว (ตัวหนึ่งให้ไข่ อีกตัวให้ดีเอ็นเอ และตัวสุดท้ายเป็นแม่อุ้มบุญซึ่งเป็นที่ฝากตัวอ่อนไว้จนคลอด)<ref>{{cite journal | last1 = Williams | year = 2003 | first1 = N. | title = Death of Dolly marks cloning milestone | journal = Current Biology | volume = 13 | issue = 6 | pages = 209–210 | pmid=12646139 | doi = 10.1016/S0960-9822 (03) 00148-9 }}</ref> มันถูกสร้างโดยใช้เทคนิคการถ่ายฝากนิวเคลียจากเซลล์ร่างกาย โดย[[นิวเคลียสของเซลล์]]จากเซลล์โตเต็มวัยถูกถ่ายฝากไปยังเซลล์ไข่ (oocyte) ซึ่งไม่ได้ผสมเชื้อและถูกนำเอานิวเคลียสออกไป จากนั้นเซลล์จึงถูกกระตุ้นให้เริ่มขยายตัวโดยการช็อตไฟฟ้า และเมื่อเริ่มพัฒนาเป็นตัวอ่อนซึ่งเป็นระยะก่อนที่จะฝังตัวกับมดลูก (blastocyst) จึงถูกนำไปฝังไว้ในแม่อุ้มบุญ<ref>{{Cite journal|author=Campbell KH|author2=McWhir J |author3=Ritchie WA|author4=Wilmut I |title=Sheep cloned by nuclear transfer from a cultured cell line |journal=Nature |volume=380 |issue=6569 |pages=64–6 |date=1996 |pmid=8598906 | doi = 10.1038/380064a0|bibcode = 1996Natur.380...64C }}</ref> ดอลลีเป็นร่างโคลนร่างแรกซึ่งนำเซลมาจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขณะโตเต็มวัย การสร้างดอลลีทำให้เห็นว่ายีนในนิวเคลียสของเซลล์ร่างกายที่โตเต็มวัย ยังสามารถย้อนกลับไปมีศักยภาพอย่างตัวอ่อนซึ่งสร้างเซลล์ที่สามารถพัฒนาเป็นส่วนใดก็ได้ของสัตว์<ref>{{Cite journal|auth or=Niemann H|author2=Tian XC|author3=King WA|author4=Lee RS |title=Epigenetic reprogramming in embryonic and foetal development upon somatic cell nuclear transfer cloning |journal=Reproduction |volume=135 |issue=2 |pages=151–63 |date=February 2008 |pmid=18239046 |doi=10.1530/REP-07-0397}}</ref>ดอลลีถูกประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ดอลลีได้รับความสนใจจากสื่ออย่างล้นหลาม แม้ดอลลีจะไม่ใช่สัตว์ตัวแรกที่ถูกโคลน มันก็ได้รับความสนใจจากสื่อเนื่องจากเป็นร่างโคลนร่างแรกจากเซลล์โตเต็มวัย<ref name=j1/>

== ชีวิต ==
[[ไฟล์:Dolly_clone.svg|right|thumb|329x329px|[[การโคลน]]ที่สร้างดอลลี]]
ดอลลีใช้ชีวิตทั้งชีวิตอยู่ที่สถาบันรอสลินใน[[เอดินบะระ|เมืองเอดินบะระ]]<ref name=BBC/> มันได้ผสมพันธุ์กับแกะภูเขาเวลส์และให้กำเนิดลูกแกะ 6 ตัว ลูกตัวแรกชื่อว่า บอนนี่ เกิดเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2541 ปีต่อมี ดอลลีให้กำเนิดลูกแกะแฝด ชื่อ แซลลี่และโรซี่ จากนั้นได้ให้กำเนิดแฝดสาม ลูซี่ ดาร์ซี่ และคอตตอน ในปีต่อมา<ref>[https://web.archive.org/web/20070813013311/http://www.roslin.ac.uk/publicInterest/DollyFamily.php Dolly's family]. </ref> ในช่วงปลายปีพ.ศ. 2544 ด้วยวัยสี่ปี ดอลลีเริ่มมีอาการ[[ข้ออักเสบ]] และเดินอย่างแข็งทื่อ จึงได้รับการรักษาด้วยยาแก้อักเสบ<ref>[https://web.archive.org/web/20070813013454/http://www.roslin.ac.uk/publicInterest/DollyArthritis.php Dolly's arthritis]. </ref>

== ตาย ==
ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ดอลลีถูก[[การุณยฆาต]] เพราะเป็นโรคเกี่ยวกับปอด และอาการข้ออักเสบขั้นรุนแรง<ref name=final_illness>[http://www.roslin.ac.uk/publicInterest/DollyFinalIilness.php Dolly's final illness] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080227144956/http://www.roslin.ac.uk/publicInterest/DollyFinalIilness.php |date=27 February 2008 }} Roslin Institute, Acce ssed 21 February 2008 [http://google.com/search?q=cache:ZZqIBPjFuT0J:www.ri.bbsrc.ac.uk/publicInterest/DollyFinalIilness.php+%22Dolly%27s+arthritis%22+Roslin+Institute&hl=en&ct=clnk&cd=3&gl=us&client=firefox-a Cached version] </ref> ปกติแล้วแกะพันธ์ Finn Dorset อย่างดอลลีมีอายุขัยประมาณ 11 ถึง 12 ปี ทว่าดอลลีมีอายุเพียง 6.5 ปีเท่านั้น หลังการตรวจพบว่าดอลลีมีมะเร็งชนิดต่อมของปอดแกะ (ovine pulmonary adenocarcinoma หรือ Jaagsiekte)<ref>Bridget M. Kuehn [http://www.avma.org/onlnews/javma/apr03/030415f.asp Goodbye, Dolly; first cloned sheep dies at six years old] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20091004231844/http://www.avma.org/onlnews/javma/apr03/030415f.asp |date=4 October 2009 }} American Veterinary Medical Association, 15 April 2003</ref> ซึ่งเป็นโรคที่พบได้ทั่วไปในแกะ และมีสาเหตุมาจากรีโทรไวรัส JSRV<ref>{{Cite journal|author=Palmarini M |title=A Veterinary Twist on Pathogen Biology |journal=PLoS Pathog. |volume=3 |issue=2 |pages=e12 |date=2007 |pmid=17319740|url=http://pathogens.plosjournals.org/perlserv/?request=get-document&doi=10.1371/journal.ppat.0030012 | doi = 10.1371/journal.ppat.0030012 |pmc=1803002}}</ref> นักวิทยาศาสตร์ที่สถาบันรอสลินกล่าวว่า พวกเขาคิดว่าการที่ดอลลีเป็นร่างโคลนไม่น่าใช่สาเหตุ และแกะหลายตัวในฝูงเดียวกันก็เสียชีวิตด้วยโรคนี้เช่นกัน โรคปอดนี้พบได้ส่วนใหญ่ในแกะที่ถูกเลี้ยงไว้ในร่ม และปกติแล้ว ดอลลีก็ถูกนำมานอนในร่มด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย

สื่อบางส่วนคาดว่า อีกต้นตอหนึ่งของการตายของดอลลีอาจเพราะว่ามันเกิดมาด้วยอายุยีนหกปี ซึ่งเท่ากับอายุของแกะที่ถูกโคลน หนึ่งในหลักฐานของข้อคิดนี้ คือ การที่[[เทโลเมียร์]] ของดอลลีนั้นสั้น ซึ่งปกติแล้วเป็นตัวชี้[[อายุ]]<ref>{{Cite journal|author=Shiels PG|author2=Kind AJ|author3=Campbell KH|title=Analysis of telomere length in Dolly, a sheep derived by nuclear transfer |journal=Cloning |volume=1 |issue=2 |pages=119–25 |date=1999 |pmid=16218837 | doi = 10.1089/15204559950020003|display-authors=etal}}</ref><ref>{{Cite journal|author=Shiels PG|author2=Kind AJ|author3=Campbell KH|title=Analysis of telomere lengths in cloned sheep |journal=Nature |volume=399 |issue=6734 |pages=316–7 |date=1999 |pmid=10360570 | doi = 10.1038/20580|bibcode = 1999Natur.399..316H |display-authors=etal}}</ref> สถาบันรอสลินชี้ว่าการตรวจสุขภาพของดอลลีไม่ได้ชี้ถึงการแก่ตัวที่ผิดปกติ<ref name="age">[http://www.roslin.ed.ac.uk/public-interest/dolly-the-sheep/a-life-of-dolly/ Was Dolly already 'old' at birth?] </ref>

ใน พ.ศ. 2559 นักวิทยาศาสตร์รายงานว่าไม่พบข้อบกพร่องในแกะโคลนทั้งสิบสามตัว ซึ่งในนั้นมีสี่ตัวที่มาจาก เซลล์ไลน์เดียวกับดอลลี งานวิจัยแรกที่รวบรวมผลทางสุขภาพระยะยาวของการโคลน ไม่พบหลักฐานเกี่ยวกับโรคกลุ่มที่ไม่ติดต่อ นอกจากตัวอย่างไม่กี่ตัวอย่างเกี่ยวกับอาการข้ออักเสบ<ref>{{cite web|last1=Sinclair|first1=K. D.|last2=Corr|first2=S. A.|last3=Gutierrez|first3=C. G.|last4=Fisher|first4=P. A.|last5=Lee|first5=J.-H.|last6=Rathbone|first6=A. J.|last7=Choi|first7=I.|last8=Campbell|first8=K. H. S.|last9=Gardner|first9=D. S.|title=Healthy ageing of cloned sheep|url=http://www.nature.com/ncomms/2016/160726/ncomms12359/full/ncomms12359.html|website=Nature Communications|pages=12359|language=en|doi=10.1038/ncomms12359|date=26 July 2016}}</ref><ref>{{cite news|last1=Klein|first1=Joanna|title=Dolly the Sheep’s Fellow Clones, Enjoying Their Golden Years|url=http://www.nytimes.com/2016/07/27/science/dolly-the-sheep-clones.html|accessdate=27 July 2016|work=The New York Times|date=26 July 2016}}</ref>


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:20, 12 กรกฎาคม 2560

มาจาก เซลล์ไลน์เดียวกับดอลลี งานวิจัยแรกที่รวบรวมผลทางสุขภาพระยะยาวของการโคลน ไม่พบหลักฐานเกี่ยวกับโรคกลุ่มที่ไม่ติดต่อ นอกจากตัวอย่างไม่กี่ตัวอย่างเกี่ยวกับอาการข้ออักเสบ[1][2]

ดูเพิ่ม

การโคลน

อ้างอิง

  1. Sinclair, K. D.; Corr, S. A.; Gutierrez, C. G.; Fisher, P. A.; Lee, J.-H.; Rathbone, A. J.; Choi, I.; Campbell, K. H. S.; Gardner, D. S. (26 July 2016). "Healthy ageing of cloned sheep". Nature Communications (ภาษาอังกฤษ). p. 12359. doi:10.1038/ncomms12359.
  2. Klein, Joanna (26 July 2016). "Dolly the Sheep's Fellow Clones, Enjoying Their Golden Years". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 27 July 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น