ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูนิกซ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


ในทศวรรษที่ 60 [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] (MIT) , AT&T Bell Labs และบริษัท [[General Electric]] ได้ร่วมมือกันวิจัยระบบปฏิบัติการที่ชื่อว่า [[Multics]] (ย่อมาจาก Multiplexed Information and Computing Service) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานบนเครื่อง[[เมนเฟรม]]รุ่น GE-645 แต่ภายหลัง AT&T ได้ถอนตัวออกจากโครงการนี้
ในทศวรรษที่ 60 [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] (MIT) , AT&T Bell Labs และบริษัท [[General Electric]] ได้ร่วมมือกันวิจัยระบบปฏิบัติการที่ชื่อว่า [[Multics]] (ย่อมาจาก Multiplexed Information and Computing Service) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานบนเครื่อง[[เมนเฟรม]]รุ่น GE-645 แต่ภายหลัง AT&T ได้ถอนตัวออกจากโครงการ

Ken Thompson ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมพัฒนาในขณะนั้น ได้เขียนเกมบนเครื่อง GE-645 ชื่อว่าเกม Space Travel และพบปัญหาว่าเกมทำงานได้ช้ากว่าที่ควร เขาจึงย้ายมาเขียนเกมใหม่บนเครื่อง [[PDP-7]] ของบริษัท [[DEC]] แทนด้วย[[ภาษาแอสเซมบลี]] โดยความช่วยเหลือของ [[Dennis Ritchie]] ประสบการณ์เหล่านี้ทำให้ Thompson หันมาพัฒนาระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PDP-7

ระบบปฏิบัติการนี้มีชื่อว่า '''UNICS''' ย่อมาจาก ''Uniplexed Information and Computing System'' เนื่องจากว่าการออกเสียงสามารถสะกดได้หลายแบบ และพบปัญหาชื่อใกล้เคียงกับ Multics ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น '''Unix'''

การพัฒนายูนิกซ์ในช่วงนี้ยังไม่ได้รับความสนับสนุนด้านการเงินจาก Bell Labs เมื่อระบบพัฒนามากขึ้น Thompson และ Ritchie จึงสัญญาว่าจะเพิ่มความสามารถในการประมวลผลคำ (Word Processing) บนเครื่อง [[PDP-11/20]] และเริ่มได้รับการตอบรับจาก Bell Labs ในปี[[ค.ศ. 1970]] ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงได้รับการเรียกชื่ออย่างเป็นทางการ โปรแกรมประมวลผลคำมีชื่อว่า [[roff]] และหนังสือ UNIX Programmer's Manual ตีพิมพ์ครั้งแรกวันที่ [[3 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1971]]

[[ค.ศ. 1973]] ได้เขียนยูนิกซ์ขึ้นมาใหม่ด้วย[[ภาษาซี]]ใช้ได้ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มินิคอมพิวเตอร์และเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกัน ดังนั้น ยูนิกส์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน ลักษณะการติดต่อกับผู้ใช้เป็นทั้งแบบ Command-line และ GUI ทำให้สะดวกต่อการนำยูนิกซ์ไปทำงานบนเครื่องชนิดอื่นมากขึ้น ทาง AT&T ได้เผยแพร่ยูนิกซ์ไปยังมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล โดยสัญญาการใช้งานเปิดเผยซอร์สโค้ด ยกเว้นเคอร์เนลส่วนที่เขียนด้วย[[ภาษาแอสเซมบลี]]

ยูนิกซ์เวอร์ชัน 4,5 และ 6 ออกใน[[ค.ศ. 1975]] ได้เพิ่มคุณสมบัติ pipe เข้ามา ยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 ซึ่งเป็นเวอร์ชันสุดท้ายที่พัฒนาแบบการวิจัย ออกใน[[ค.ศ. 1979]] ยูนิกซ์เวอร์ชัน 8,9 และ 10 ออกมาในภายหลังในทศวรรษที่ 80 ในวงจำกัดเฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่งเท่านั้น และเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ [[Plan 9]]

[[ค.ศ. 1982]] AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ [[Unix System III]] แต่บริษัทลูกของ AT&T ชื่อว่า Western Electric ยังคงนำยูนิกซ์รุ่นเก่ามาขายอยู่เช่นกัน เพื่อยุติความสับสนทางด้านชื่อ AT&T จึงรวมการพัฒนาทั้งหมดจากบริษัทและมหาวิทยาลัยต่างๆใน [[Unix System V]] ซึ่งมีโปรแกรมอย่าง [[vi]] ที่พัฒนาโดย [[Berkeley Software Distribution]] (BSD) จาก[[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์]] รวมอยู่ด้วย ยูนิกซ์รุ่นนี้สามารถทำงานได้บนเครื่อง [[VAX]] ของบริษัท DEC

ยูนิกซ์รุ่นที่เป็นการค้าไม่เปิดเผยซอร์สโค้ดอีกต่อไป ทางมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ จึงพัฒนายูนิกซ์ของตัวเองต่อเพื่อเป็นทางเลือกกับ System V การพัฒนาที่สำคัญที่สุดคือเพิ่มการสนับสนุนโพรโทคอลสำหรับเครือข่าย [[TCP/IP]] เข้ามา

บริษัทอื่นๆ เริ่มพัฒนายูนิกซ์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของตนเอง โดยส่วนมากใช้ยูนิกซ์ที่ซื้อสัญญามาจาก System V แต่บางบริษัทเลือกพัฒนาจาก BSD แทน หนึ่งในทีมพัฒนาของ BSD คือ [[Bill Joy]] มีส่วนในการสร้าง [[SunOS]] (ปัจจุบันคือ [[โซลาริส]]) ของบริษัท[[ซัน ไมโครซิสเต็มส์]]

[[ค.ศ. 1981]] ทีมพัฒนา BSD ได้ออกจากมหาวิทยาลัยและก่อตั้งบริษัท Berkeley Software Design, Inc (BSDI) เป็นบริษัทแรกที่นำ BSD มาขายในเชิงการค้า ในภายหลังเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ [[FreeBSD]], [[OpenBSD]] และ [[NetBSD]]

AT&T ยังคงพัฒนาความสามารถต่างๆ เข้าสู่ยูนิกซ์ System V และรวมเอา [[Xenix]] (ยูนิกซ์ของบริษัท[[ไมโครซอฟท์]]) , BSD และ SunOS เข้ามารวมใน [[System V Release 4]] (SVR4) เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งเดียวสำหรับลูกค้า ซึ่งเพิ่มราคาขึ้นอีกมาก

หลังจากนั้นไม่นาน AT&T ขายสิทธิ์ในการถือครองยูนิกซ์ให้กับบริษัท[[โนเวลล์]] และโนเวลเองได้สร้างยูนิกซ์ของตัวเองที่ชื่อ [[UnixWare]] ซึ่งพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการ [[NetWare]] เพื่อแข่งกับระบบปฏิบัติการ[[วินโดวส์เอ็นที]]ของไมโครซอฟท์

[[ค.ศ. 1995]] โนเวลขายส่วนต่างๆ ของยูนิกซ์ให้กับบริษัท [[Santa Cruz Operation]] (SCO) โดยโนเวลยังถือลิขสิทธิ์ของยูนิกซ์ไว้ [[ค.ศ. 2000]] SCO ขายสิทธิ์ส่วนของตนเองให้กับบริษัท Caldera ซึ่งเปลี่ยนชื่อภายหลังเป็น SCO Group ซึ่งเป็นสาเหตุในการดำเนินคดีละเมิดลิขสิทธิ์กับ[[ลินุกซ์]]

== เส้นทางสายยูนิกซ์ ==
[[ไฟล์:Unix history-simple.svg|1000px]]


== มาตรฐาน ==
== มาตรฐาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:19, 10 มกราคม 2560

ยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบหลายงาน หลายผู้ใช้ ที่เริ่มพัฒนาโดยกลุ่มพนักงานของห้องปฏิบัติการ AT&T Bell Labs โดยกลุ่มนักพัฒนาที่เป็นที่รู้จัก คือ Ken Thompson, Dennis Ritchie และ Douglas McIlroy

ประวัติ

ในทศวรรษที่ 60 สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) , AT&T Bell Labs และบริษัท General Electric ได้ร่วมมือกันวิจัยระบบปฏิบัติการที่ชื่อว่า Multics (ย่อมาจาก Multiplexed Information and Computing Service) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานบนเครื่องเมนเฟรมรุ่น GE-645 แต่ภายหลัง AT&T ได้ถอนตัวออกจากโครงการ

มาตรฐาน

  • มาตรฐาน POSIX กำหนดคุณสมบัติขั้นพื้นฐานของยูนิกซ์

อ้างอิง

  • Salus, Peter H.: A Quarter Century of UNIX, Addison Wesley, June 1, 1994; ISBN 0-201-54777-5

แหล่งข้อมูลอื่น