ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาหลอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''ยาหลอก''' ({{lang-en|placebo}}) เป็นการรักษาโรคหรืออาการอื่นทางการแพทย์ที่ไม่แท้หรือไม่มีผลทางการแพทย์ โดยตั้งใจให้หลอกผู้รับการรักษา บางครั้ง ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาปลอมจะมีการพัฒนาของอาการทางการแพทย์ที่รับรู้หรือแท้จริง ปรากฏการณ์ดังกล่าวโดยทั่วไปเรียกว่า '''ปรากฏการณ์ยาหลอก'''
'''ยาหลอก''' ({{lang-en|placebo}}) เป็นการรักษาโรคหรืออาการอื่นทางการแพทย์ที่ไม่แท้หรือไม่มีผลทางการแพทย์ โดยตั้งใจให้หลอกผู้รับการรักษา บางครั้ง ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาปลอมจะมีการพัฒนาของอาการทางการแพทย์ที่รับรู้หรือแท้จริง ปรากฏการณ์ดังกล่าวโดยทั่วไปเรียกว่า '''ปรากฏการณ์ยาหลอก'''


ในการวิจัยทางการแพทย์ มีการให้ยาหลอกเป็นการรักษาควบคุมและขึ้นอยู่กับการหลอกที่ควบคุมได้ ยาหลอกสามัญรวมถึง ยาเม็ดเฉื่อย การผ่าตัดหลอก<ref name=inquiry_cfm>{{cite web |author=UK Parliamentary Committee Science and Technology Committee |url=http://www.parliament.uk/parliamentary_committees/science_technology/s_t_homeopathy_inquiry.cfm |title=Evidence Check 2: Homeopathy |archiveurl=http://archive.is/4t42|archivedate=2012-06-28}}</ref> และกระบวนการอื่นที่ใช้สารสนเทศเท็จ<ref name="Lanotte">{{cite journal |author=Lanotte M, Lopiano L, Torre E, Bergamasco B, Colloca L, Benedetti F |title=Expectation enhances autonomic responses to stimulation of the human subthalamic limbic region |journal=Brain, Behavior, and Immunity |volume=19 |issue=6 |pages=500–9 |year=2005 |month=November |pmid=16055306 |doi=10.1016/j.bbi.2005.06.004}}</ref> อย่างไรก็ดี ยาหลอกสามารถมีผลทางบวกอย่างน่าประหลาดใจต่อผู้ป่วยที่ทราบว่า การรักษาที่ให้แก่ตนนั้นปราศจากยาออกฤทธิ์ใด ๆ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ทราบว่าไม่ได้รับยาหลอก<ref name="Kaptchuk et al">{{cite journal |author=Kaptchuk TJ, Friedlander E, Kelley JM, ''et al.'' |title=Placebos without Deception: A Randomized Controlled Trial in Irritable Bowel Syndrome |journal=PLoS ONE |volume=5 |issue=12 |pages=e15591 |year=2010 |pmid=21203519 |pmc=3008733 |doi=10.1371/journal.pone.0015591 | laysummary=http://www.newscientist.com/article/dn19904-placebos-can-work-even-when-you-know-theyre-fakes.html |bibcode=2010PLoSO...515591K |editor1-last=Boutron |editor1-first=Isabelle}}</ref>
ในการวิจัยทางการแพทย์ มีการให้ยาหลอกเป็นการรักษาควบคุมและขึ้นอยู่กับการหลอกที่ควบคุมได้ ยาหลอกสามัญรวมถึง ยาเม็ดเฉื่อย การผ่าตัดหลอก<ref name=inquiry_cfm>{{cite web |author=UK Parliamentary Committee Science and Technology Committee |url=http://www.parliament.uk/parliamentary_committees/science_technology/s_t_homeopathy_inquiry.cfm |title=Evidence Check 2: Homeopathy |archiveurl=http://archive.is/4t42|archivedate=2012-06-28}}</ref> และกระบวนการอื่นที่ใช้สารสนเทศเท็จ<ref name="Lanotte">{{cite journal |author=Lanotte M, Lopiano L, Torre E, Bergamasco B, Colloca L, Benedetti F |title=Expectation enhances autonomic responses to stimulation of the human subthalamic limbic region |journal=Brain, Behavior, and Immunity |volume=19 |issue=6 |pages=500–9 |year=2005 |month=November |pmid=16055306 |doi=10.1016/j.bbi.2005.06.004}}</ref> อย่างไรก็ดี ยาหลอกสามารถมีผลทางบวกอย่างน่าประหลาดใจต่อผู้ป่วยที่ทราบว่า การรักษาที่ให้แก่ตนนั้นปราศจากยาออกฤทธิ์ใด ๆ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ทราบว่าไม่ได้รับยาหลอก<ref name="Kaptchuk et al">{{cite journal |author=Kaptchuk TJ, Friedlander E, Kelley JM, ''et al.'' |title=Placebos without Deception: A Randomized Controlled Trial in Irritable Bowel Syndrome |journal=PLoS ONE |volume=5 |issue=12 |pages=e15591 |year=2010 |pmid=21203519 |pmc=3008733 |doi=10.1371/journal.pone.0015591 | laysummary=http://www.newscientist.com/article/dn19904-placebos-can-work-even-when-you-know-theyre-fakes.html |bibcode=2010PLoSO...515591K |editor1-last=Boutron |editor1-first=Isabelle}}</ref>อิอิ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:10, 28 ตุลาคม 2559

ยาหลอก (อังกฤษ: placebo) เป็นการรักษาโรคหรืออาการอื่นทางการแพทย์ที่ไม่แท้หรือไม่มีผลทางการแพทย์ โดยตั้งใจให้หลอกผู้รับการรักษา บางครั้ง ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาปลอมจะมีการพัฒนาของอาการทางการแพทย์ที่รับรู้หรือแท้จริง ปรากฏการณ์ดังกล่าวโดยทั่วไปเรียกว่า ปรากฏการณ์ยาหลอก

ในการวิจัยทางการแพทย์ มีการให้ยาหลอกเป็นการรักษาควบคุมและขึ้นอยู่กับการหลอกที่ควบคุมได้ ยาหลอกสามัญรวมถึง ยาเม็ดเฉื่อย การผ่าตัดหลอก[1] และกระบวนการอื่นที่ใช้สารสนเทศเท็จ[2] อย่างไรก็ดี ยาหลอกสามารถมีผลทางบวกอย่างน่าประหลาดใจต่อผู้ป่วยที่ทราบว่า การรักษาที่ให้แก่ตนนั้นปราศจากยาออกฤทธิ์ใด ๆ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ทราบว่าไม่ได้รับยาหลอก[3]อิอิ

อ้างอิง

  1. UK Parliamentary Committee Science and Technology Committee. "Evidence Check 2: Homeopathy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-28.
  2. Lanotte M, Lopiano L, Torre E, Bergamasco B, Colloca L, Benedetti F (2005). "Expectation enhances autonomic responses to stimulation of the human subthalamic limbic region". Brain, Behavior, and Immunity. 19 (6): 500–9. doi:10.1016/j.bbi.2005.06.004. PMID 16055306. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  3. Kaptchuk TJ, Friedlander E, Kelley JM; และคณะ (2010). Boutron, Isabelle (บ.ก.). "Placebos without Deception: A Randomized Controlled Trial in Irritable Bowel Syndrome". PLoS ONE. 5 (12): e15591. Bibcode:2010PLoSO...515591K. doi:10.1371/journal.pone.0015591. PMC 3008733. PMID 21203519. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |laysummary= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)