ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุลูม อัลหะดีษ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
<big>'''อุลูม (علوم)''' เป็นคำภาษาอาหรับในรูปของพหูพจน์ แปลว่า วิชาความรู้ที่ว่าด้วยหลักการต่าง ๆ เอกพจน์คือ อิลมฺ (علم) แปลว่า วิชาความรู้ ผันมาจากรากศัพท์ของ علم يعلم علماً คำว่า “อุลูม” จะมีความหมายที่สอดคล้องกับคำว่า “อุศูล” แปลว่า รากฐานหรือพื้นฐาน เช่น อุลูม อัลกุรอานหรืออุศูล อัตตัฟสีร อุลูม อัลหะดีษหรืออุศูล อัลหะดีษ และอุศูล อัลฟิกฮฺ  แต่อุลูมในที่นี้หมายความถึง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลักการ เช่น อุลูมอัลกุรอานหรือ อุศูลตัฟสีร หมายถึง หลักพื้นฐานที่เกี่ยวกับการอรรถาธิบายอัลกุรอาน อุลูม อัลหะดีษ หรืออุศูล อัลหะดีษ หมายถึง หลักพื้นฐานที่เกี่ยวกับหะดีษ เป็นต้น ดังนั้น เมื่อกล่าวคำว่า “อุลูม” หรือ “อุศูล” ในวิชาใดแล้วนั้นมักจะหมายถึงอิลฺมของวิชานั้น ๆ จะไม่ครอบคลุมวิชาอื่น ๆ เข้าด้วยกันดังตัวอย่างที่กล่าวข้างต้น <div>
<big>'''อุลูม (علوم)''' เป็นคำภาษาอาหรับในรูปของพหูพจน์ แปลว่า วิชาความรู้ที่ว่าด้วยหลักการต่าง ๆ เอกพจน์คือ อิลมฺ (علم) แปลว่า วิชาความรู้ ผันมาจากรากศัพท์ของ علم يعلم علماً คำว่า “อุลูม” จะมีความหมายที่สอดคล้องกับคำว่า “อุศูล” แปลว่า รากฐานหรือพื้นฐาน เช่น
อุลูม อัลกุรอานหรืออุศูล อัตตัฟสีร อุลูม อัลหะดีษหรืออุศูล อัลหะดีษ และอุศูล อัลฟิกฮฺ  แต่อุลูมในที่นี้หมายความถึง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลักการ เช่น อุลูมอัลกุรอานหรือ อุศูลตัฟสีร หมายถึง หลักพื้นฐานที่เกี่ยวกับการอรรถาธิบายอัลกุรอาน อุลูม อัลหะดีษ หรืออุศูล อัลหะดีษ หมายถึง หลักพื้นฐานที่เกี่ยวกับหะดีษ เป็นต้น ดังนั้น เมื่อกล่าวคำว่า “อุลูม” หรือ “อุศูล” ในวิชาใดแล้วนั้นมักจะหมายถึงอิลฺมของวิชานั้น ๆ จะไม่ครอบคลุมวิชาอื่น ๆ เข้าด้วยกันดังตัวอย่างที่กล่าวข้างต้น <div>
'''หะดีษ''' แปลว่า วจนะ ความหมายที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่ตั้งแต่สมัยก่อนจนถึงปัจจุบันจะหมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่สามารถพาดพิงถึงท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) จะเป็นคำพูด การกระทำ การยอมรับ คุณลักษณะตลอดจนชีวประวัติของท่าน  แต่ในบางครั้งอาจจะใช้กับคนอื่น ๆ เช่นเดียวกัน เช่น หะดีษของเศาะหาบะฮฺ หะดีษของตาบิอีน และหะดีษของอัตบาอฺ ตาบิอีน แม้ว่าจะใช้กับคนทั่วไป </div><div>'''อัลหะดีษ
'''หะดีษ''' แปลว่า วจนะ ความหมายที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่ตั้งแต่สมัยก่อนจนถึงปัจจุบันจะหมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่สามารถพาดพิงถึงท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) จะเป็นคำพูด การกระทำ การยอมรับ คุณลักษณะตลอดจนชีวประวัติของท่าน  แต่ในบางครั้งอาจจะใช้กับคนอื่น ๆ เช่นเดียวกัน เช่น หะดีษของเศาะหาบะฮฺ หะดีษของตาบิอีน และหะดีษของอัตบาอฺ ตาบิอีน แม้ว่าจะใช้กับคนทั่วไป </div><div>'''อัลหะดีษ


อุลูม อัลหะดีษ''' หมายถึง วิชาความรู้ที่ว่าด้วยหลักการต่าง ๆ ที่สามารถนำไปเป็นเครื่องมือในการพิสูจน์สถานภาพของสายรายงาน (สะนัด) และตัวบทหะดีษ (มะตัน) มีอุละมาอ์หะดีษบางท่านกล่าวว่า หลักการต่าง ๆ ของอุลูม อัลหะดีษ ไม่เฉพาะนำไปใช้กับหะดีษของท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) เท่านั้น แต่อาจจะใช้กับเศาะหาบะฮฺ ตาบิอีน และตาบิอฺ ตาบิอีน  เช่น หลักการที่ว่าด้วยการนำคำพูดหรือการกระทำของเศาะหาบะฮฺไปใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งของอัลอิสลาม ตลอดจคำพูดและการกระทำของตาบิอฺ ตาบิอีน และอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน</div>
อุลูม อัลหะดีษ''' หมายถึง วิชาความรู้ที่ว่าด้วยหลักการต่าง ๆ ที่สามารถนำไปเป็นเครื่องมือในการพิสูจน์สถานภาพของสายรายงาน (สะนัด) และตัวบทหะดีษ (มะตัน) มีอุละมาอ์หะดีษบางท่านกล่าวว่า หลักการต่าง ๆ ของอุลูม อัลหะดีษ ไม่เฉพาะนำไปใช้กับหะดีษของท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) เท่านั้น แต่อาจจะใช้กับเศาะหาบะฮฺ ตาบิอีน และตาบิอฺ ตาบิอีน  เช่น หลักการที่ว่าด้วยการนำคำพูดหรือการกระทำของเศาะหาบะฮฺไปใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งของอัลอิสลาม ตลอดจคำพูดและการกระทำของตาบิอฺ ตาบิอีน และอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน</div>
</big>
</big>
=== ความเป็นมาของอุลูม อัลหะดีษ ===<br />
การถ่ายทอดหะดีษของท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) ไปยังสังคมมุสลิมในทุกยุคสมัยโดยผ่านการรายงานจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง ตามสภาพความเป็นจริงแล้วนักรายงานหะดีษของแต่ละรุ่นมีลักษณะที่แตกต่างกันและสถานภาพที่หลากหลาย ทั้งที่เกี่ยวข้องกับด้านกระบวนการรายงาน ด้านคุณธรรม และด้านความจำ รุ่นต่าง ๆ เหล่านั้นประกอบด้วยสี่รุ่น ได้แก่ รุ่นเศาะหาบะฮฺ รุ่นตาบิอีนรุ่นตาบิอฺ ตาบิอีน และรุ่นอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน
การรายงานหะดีษของเศาะหาบะฮฺเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ใจและอย่างมีคุณธรรมโดยวิธีการท่องจำ การปฏิบัติตาม และการรายงาน ในทางตรงกันข้ามเศาะหาบะฮฺจะติดตามต้นต่อและที่มาของหะดีษอย่างเกร่งครัด ก็เช่นเดียวกันกับรุ่นตาบิอีนได้เจริญรอยตามเศาะหาบะฮฺทุกประการ จนกระทั่งในช่วงกลางของรุ่นตาบิอีนมีการรายงานหะดีษอย่างสับสน เช่น รายงานหะดีษแบบมุรสัล การรายงานในลักษณะที่ขาดตอน มีบางคนตั้งใจกุหะดีษแล้วพาดพิงถึงท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) มีการรายงานหะดีษในลักษณะการสนับสนุนมัซฮับตนเอง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ได้แพร่หลายในสังคมมุสลิมอย่างขว้างกวางซึ่งมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของมุสลิมในหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านอะกีดะฮฺ ด้านอิบาดะฮฺ เป็นต้น
นับตั้งแต่นั้น บรรดาอุละมาอ์เริ่มทำการศึกษาเรื่องสายรายงาน หรือสะนัดของหะดีษแต่ละบท โดยการรวบรวมสายรายงานและวิเคราะห์สถานภาพของผู้รายงานแต่ละท่านทั้งที่เกี่ยวข้องกับความจำ และคุณธรรมตลอดจนวิเคราะห์สถานะตัวบทหะดีษที่เป็นของท่านนบี (ซ.ล.) กับตัวบทที่เป็นของคนอื่น อุละมาอ์ที่ทำหน้าปกป้องหะดีษมีหลายรุ่นด้วยกันแต่ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของแต่ละรุ่น คือ รุ่นตาบิอีน ได้แก่ เคาะลีฟะฮฺอุมัร เบ็น อับดุลอะซีซ อิมามอัซซุฮรีย์ รุ่นตาบิอฺ ตาบิอีน ได้แก่ ชุอฺบะฮฺ มาลิก มะอฺมัร ฮิชาม อัดดัสตุวาอีย์ และรุ่นอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน ได้แก่ อะหฺมัด เบ็น หันบัล อัลบุคอรีย์ มุสลิม อะบูซุรอะฮฺ อะบูหาติม อัตติรมิซีย เป็นต้น

ความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับสายรายงานและตัวบทหะดีษถูกบันทึกไว้เป็นหมวดหมู่โดยแบ่งออกเป็นสองประเภทหนังสือ คือ หนังสือที่เกี่ยวกับสายรายงาน เช่น หนังสือริญาล หนังสือตาริค หนังสืออัฏเฏาะบะกอต หนังสือวะฟะยาต หนังสือวุจญ์ดาน หนังสือมุดัลลิสีน เป็นต้น และหนังสือที่เกี่ยวกับตัวบท หะดีษ เช่น หนังสืออิลาล หนังสือมะรอติบ อัลฟาศหะดีษ หนังสือเฆาะรีบ หะดีษ อิมาม อิบนุ อัลมุลักกินได้กล่าวว่า วิชาความรู้ที่เกี่ยวกับหะดีษมีมากกว่า 100 วิชา และอัลหาฟิศ อะบูหาติมได้แบ่งสาขาวิชาออกเป็น 49 สาขาหะดีษ
วิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับหะดีษ อุละมาอ์หะดีษได้ตั้งชื่อว่า อุลูม อัลหะดีษ หรืออุศูล อัล หะดีษ หรือมุศเฏาะลาหฺ อัลหะดีษ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:15, 9 กุมภาพันธ์ 2559

อุลูม (علوم) เป็นคำภาษาอาหรับในรูปของพหูพจน์ แปลว่า วิชาความรู้ที่ว่าด้วยหลักการต่าง ๆ เอกพจน์คือ อิลมฺ (علم) แปลว่า วิชาความรู้ ผันมาจากรากศัพท์ของ علم يعلم علماً คำว่า “อุลูม” จะมีความหมายที่สอดคล้องกับคำว่า “อุศูล” แปลว่า รากฐานหรือพื้นฐาน เช่น

อุลูม อัลกุรอานหรืออุศูล อัตตัฟสีร อุลูม อัลหะดีษหรืออุศูล อัลหะดีษ และอุศูล อัลฟิกฮฺ  แต่อุลูมในที่นี้หมายความถึง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลักการ เช่น อุลูมอัลกุรอานหรือ อุศูลตัฟสีร หมายถึง หลักพื้นฐานที่เกี่ยวกับการอรรถาธิบายอัลกุรอาน อุลูม อัลหะดีษ หรืออุศูล อัลหะดีษ หมายถึง หลักพื้นฐานที่เกี่ยวกับหะดีษ เป็นต้น ดังนั้น เมื่อกล่าวคำว่า “อุลูม” หรือ “อุศูล” ในวิชาใดแล้วนั้นมักจะหมายถึงอิลฺมของวิชานั้น ๆ จะไม่ครอบคลุมวิชาอื่น ๆ เข้าด้วยกันดังตัวอย่างที่กล่าวข้างต้น 

หะดีษ แปลว่า วจนะ ความหมายที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่ตั้งแต่สมัยก่อนจนถึงปัจจุบันจะหมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่สามารถพาดพิงถึงท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) จะเป็นคำพูด การกระทำ การยอมรับ คุณลักษณะตลอดจนชีวประวัติของท่าน  แต่ในบางครั้งอาจจะใช้กับคนอื่น ๆ เช่นเดียวกัน เช่น หะดีษของเศาะหาบะฮฺ หะดีษของตาบิอีน และหะดีษของอัตบาอฺ ตาบิอีน แม้ว่าจะใช้กับคนทั่วไป 
อัลหะดีษ อุลูม อัลหะดีษ หมายถึง วิชาความรู้ที่ว่าด้วยหลักการต่าง ๆ ที่สามารถนำไปเป็นเครื่องมือในการพิสูจน์สถานภาพของสายรายงาน (สะนัด) และตัวบทหะดีษ (มะตัน) มีอุละมาอ์หะดีษบางท่านกล่าวว่า หลักการต่าง ๆ ของอุลูม อัลหะดีษ ไม่เฉพาะนำไปใช้กับหะดีษของท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) เท่านั้น แต่อาจจะใช้กับเศาะหาบะฮฺ ตาบิอีน และตาบิอฺ ตาบิอีน  เช่น หลักการที่ว่าด้วยการนำคำพูดหรือการกระทำของเศาะหาบะฮฺไปใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งของอัลอิสลาม ตลอดจคำพูดและการกระทำของตาบิอฺ ตาบิอีน และอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน

=== ความเป็นมาของอุลูม อัลหะดีษ ===

     การถ่ายทอดหะดีษของท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) ไปยังสังคมมุสลิมในทุกยุคสมัยโดยผ่านการรายงานจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง ตามสภาพความเป็นจริงแล้วนักรายงานหะดีษของแต่ละรุ่นมีลักษณะที่แตกต่างกันและสถานภาพที่หลากหลาย ทั้งที่เกี่ยวข้องกับด้านกระบวนการรายงาน ด้านคุณธรรม และด้านความจำ รุ่นต่าง ๆ เหล่านั้นประกอบด้วยสี่รุ่น ได้แก่ รุ่นเศาะหาบะฮฺ  รุ่นตาบิอีนรุ่นตาบิอฺ ตาบิอีน และรุ่นอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน 
    การรายงานหะดีษของเศาะหาบะฮฺเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ใจและอย่างมีคุณธรรมโดยวิธีการท่องจำ การปฏิบัติตาม และการรายงาน  ในทางตรงกันข้ามเศาะหาบะฮฺจะติดตามต้นต่อและที่มาของหะดีษอย่างเกร่งครัด ก็เช่นเดียวกันกับรุ่นตาบิอีนได้เจริญรอยตามเศาะหาบะฮฺทุกประการ จนกระทั่งในช่วงกลางของรุ่นตาบิอีนมีการรายงานหะดีษอย่างสับสน เช่น รายงานหะดีษแบบมุรสัล  การรายงานในลักษณะที่ขาดตอน มีบางคนตั้งใจกุหะดีษแล้วพาดพิงถึงท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) มีการรายงานหะดีษในลักษณะการสนับสนุนมัซฮับตนเอง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ได้แพร่หลายในสังคมมุสลิมอย่างขว้างกวางซึ่งมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของมุสลิมในหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านอะกีดะฮฺ  ด้านอิบาดะฮฺ เป็นต้น
    นับตั้งแต่นั้น บรรดาอุละมาอ์เริ่มทำการศึกษาเรื่องสายรายงาน หรือสะนัดของหะดีษแต่ละบท โดยการรวบรวมสายรายงานและวิเคราะห์สถานภาพของผู้รายงานแต่ละท่านทั้งที่เกี่ยวข้องกับความจำ  และคุณธรรมตลอดจนวิเคราะห์สถานะตัวบทหะดีษที่เป็นของท่านนบี (ซ.ล.) กับตัวบทที่เป็นของคนอื่น  อุละมาอ์ที่ทำหน้าปกป้องหะดีษมีหลายรุ่นด้วยกันแต่ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของแต่ละรุ่น คือ รุ่นตาบิอีน ได้แก่  เคาะลีฟะฮฺอุมัร เบ็น อับดุลอะซีซ  อิมามอัซซุฮรีย์   รุ่นตาบิอฺ   ตาบิอีน ได้แก่ ชุอฺบะฮฺ  มาลิก  มะอฺมัร  ฮิชาม อัดดัสตุวาอีย์ และรุ่นอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน ได้แก่ อะหฺมัด เบ็น หันบัล อัลบุคอรีย์  มุสลิม  อะบูซุรอะฮฺ  อะบูหาติม อัตติรมิซีย เป็นต้น
   ความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับสายรายงานและตัวบทหะดีษถูกบันทึกไว้เป็นหมวดหมู่โดยแบ่งออกเป็นสองประเภทหนังสือ คือ หนังสือที่เกี่ยวกับสายรายงาน เช่น หนังสือริญาล  หนังสือตาริค  หนังสืออัฏเฏาะบะกอต หนังสือวะฟะยาต  หนังสือวุจญ์ดาน หนังสือมุดัลลิสีน เป็นต้น และหนังสือที่เกี่ยวกับตัวบท    หะดีษ เช่น หนังสืออิลาล  หนังสือมะรอติบ อัลฟาศหะดีษ  หนังสือเฆาะรีบ     หะดีษ  อิมาม อิบนุ อัลมุลักกินได้กล่าวว่า  วิชาความรู้ที่เกี่ยวกับหะดีษมีมากกว่า 100  วิชา  และอัลหาฟิศ อะบูหาติมได้แบ่งสาขาวิชาออกเป็น  49  สาขาหะดีษ  

วิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับหะดีษ อุละมาอ์หะดีษได้ตั้งชื่อว่า อุลูม อัลหะดีษ หรืออุศูล อัล หะดีษ หรือมุศเฏาะลาหฺ อัลหะดีษ