ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผนภูมิแกนต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:GanttChartAnatomy.svg|right|thumb|300px|แผนภูมิแกนต์ แสดงงานสามงานที่ขึ้นต่อกัน (สีแดง) และอัตราร้อยละของความสำเร็จลุล่วง]]
[[ไฟล์:GanttChartAnatomy.svg|right|thumb|300px|แผนภูมิแกนต์ แสดงงานสามงานที่ขึ้นต่อกัน (สีแดง) และอัตราร้อยละของความสำเร็จลุล่วง]]

พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก


'''แผนภูมิแกนต์''' ({{lang-en|Gantt chart}}) หมายถึง [[แผนผังคุมกำหนดงาน]] มักใช้ในด้านการจัดการ[[โครงการ]]ต่าง ๆ ในองค์การขนาดใหญ่ ซึ่งอาจมีขั้นตอนซับซ้อน และมากมาย โดยจะใช้เป็นเทคนิคเครื่องมือช่วยการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ในการดำเนินการแก้ไขการควบคุม การวางแผนที่เหมาะสม เพื่อช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ผังในลักษณะนี้จะแสดงถึงปริมาณงานและกำหนดเวลาที่จะต้องใช้ เพื่อทำงานนั้นให้ลุล่วง เป็นแผนภูมิในรูปของกราฟแท่งที่ประกอบด้วย แกนหลัก 2 แกน คือ แกนนอนแสดงถึงเวลาในการทำงานตลอดโครงการ และแกนตั้งแสดงถึงงานหรือกิจกรรมที่ต้องทำ แท่งกราฟวางตัวในแนวนอน ความยาวของแท่งกราฟเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะเวลาในการทำงาน
'''แผนภูมิแกนต์''' ({{lang-en|Gantt chart}}) หมายถึง [[แผนผังคุมกำหนดงาน]] มักใช้ในด้านการจัดการ[[โครงการ]]ต่าง ๆ ในองค์การขนาดใหญ่ ซึ่งอาจมีขั้นตอนซับซ้อน และมากมาย โดยจะใช้เป็นเทคนิคเครื่องมือช่วยการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ในการดำเนินการแก้ไขการควบคุม การวางแผนที่เหมาะสม เพื่อช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ผังในลักษณะนี้จะแสดงถึงปริมาณงานและกำหนดเวลาที่จะต้องใช้ เพื่อทำงานนั้นให้ลุล่วง เป็นแผนภูมิในรูปของกราฟแท่งที่ประกอบด้วย แกนหลัก 2 แกน คือ แกนนอนแสดงถึงเวลาในการทำงานตลอดโครงการ และแกนตั้งแสดงถึงงานหรือกิจกรรมที่ต้องทำ แท่งกราฟวางตัวในแนวนอน ความยาวของแท่งกราฟเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะเวลาในการทำงาน



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:34, 16 กันยายน 2558

แผนภูมิแกนต์ แสดงงานสามงานที่ขึ้นต่อกัน (สีแดง) และอัตราร้อยละของความสำเร็จลุล่วง

พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก พี่เสื้อโหดมาก


แผนภูมิแกนต์ (อังกฤษ: Gantt chart) หมายถึง แผนผังคุมกำหนดงาน มักใช้ในด้านการจัดการโครงการต่าง ๆ ในองค์การขนาดใหญ่ ซึ่งอาจมีขั้นตอนซับซ้อน และมากมาย โดยจะใช้เป็นเทคนิคเครื่องมือช่วยการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ในการดำเนินการแก้ไขการควบคุม การวางแผนที่เหมาะสม เพื่อช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ผังในลักษณะนี้จะแสดงถึงปริมาณงานและกำหนดเวลาที่จะต้องใช้ เพื่อทำงานนั้นให้ลุล่วง เป็นแผนภูมิในรูปของกราฟแท่งที่ประกอบด้วย แกนหลัก 2 แกน คือ แกนนอนแสดงถึงเวลาในการทำงานตลอดโครงการ และแกนตั้งแสดงถึงงานหรือกิจกรรมที่ต้องทำ แท่งกราฟวางตัวในแนวนอน ความยาวของแท่งกราฟเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะเวลาในการทำงาน

แผนภูมิแกนต์ พัฒนาขึ้นในปี 1917 โดย Henry L. Gantt เป็นผู้พัฒนาแผนภูมินี้ขึ้นมา เพื่อใช้ในการวางแผนเกี่ยวกับเวลา ใช้แก้ปัญหาเรื่องการจัดตารางการผลิต การควบคุมแผนงานและโครงการการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ เรียกว่า แผนภูมิแกนต์ ซึ่งมีลักษณะเป็นแถบหรือเส้น โดยใช้แกนนอนเป็นเส้นมาตราส่วนแสดงเวลา ส่วนแกนตั้งเป็นมาตราส่วนแสดงขั้นตอนของกิจกรรมหรืองาน หรืออัตรากำลังขององค์การ

หลักการของแผนภูมิแกนต์ จะเป็นแบบง่าย ๆ กล่าวคือ กิจกรรมต่าง ๆ จะถูกกำหนดให้มีการดำเนินเป็นไปตามแผนการผลิตที่ต้องการ และถ้ามีความเบี่ยงเบนเกิดขึ้นในเวลาใด ๆ ก็จะมีการจดบันทึกและแสดงสภาพที่เกิดขึ้น เพื่อจะได้หาทางแก้ไข เช่น เรื่องการกำหนดงาน สาเหตุของการล่าช้า ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงและการจัดแจกภาระงานในการผลิต

ข้อจำกัด

  1. ไม่สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างงานย่อยต่าง ๆ จึงบอกไม่ได้ว่า
    • กิจกรรมใดบ้างที่ต้องทำให้เสร็จก่อนจะเริ่มต้นกิจกรรมอื่น
    • กิจกรรมใดบ้างที่สามารถเริ่มต้นทำพร้อมกันได้
    • กิจกรรมใดสามารถล่าช้าได้เท่าใด โดยไม่กระทบต่อกิจกรรมอื่นหรือต่อความสำเร็จของโครงการ
  2. ไม่สามารถบอกได้ว่าควรจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างไร ให้บริหารโครงการได้มีประสิทธิภาพ

ดังนั้น แผนภูมิแกนต์จึงใช้ทั่วไปในโครงการที่ไม่ซับซ้อนนัก