ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|Computer programming}}) หรือเรียกให้สั้นลงว่า '''การเขียนโปรแกรม''' ({{lang-en|Programming}}) หรือ '''การเขียนโค้ด''' (Coding) เป็นขั้นตอนการเขียน ทดสอบ และดูแล[[ซอร์สโค้ด]]ของ[[โปรแกรมคอมพิวเตอร์]] ซึ่ง[[ซอร์สโค้ด]]นั้นจะเขียนด้วย[[ภาษาโปรแกรม]] ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมต้องการความรู้ในหลายด้านด้วยกัน เกี่ยวกับโปรแกรมที่ต้องการจะเขียน และ[[ขั้นตอนวิธี]]ที่จะใช้ ซึ่งใน[[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]]นั้น การเขียนโปรแกรมถือเป็นเพียงขั้นหนึ่งใน[[วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์]]

การเขียนโปรแกรมจะได้มาซึ่ง[[:ซอร์สโค้ด|ซอร์สโค้ด]]ของโปรแกรมนั้นๆ โดยปกติแล้วจะอยู่ในรูปแบบของ [[ข้อความธรรมดา]] ซึ่งไม่สามารถนำไปใช้งานได้ จะต้องผ่านการ[[คอมไพล์]]ตัวซอร์สโค้ดนั้นให้เป็น[[ภาษาเครื่อง]] (Machine Language) เสียก่อนจึงจะได้เป็นโปรแกรมที่พร้อมใช้งาน

การเขียนโปรแกรมถือว่าเป็นการผสมผสานกันระหว่างศาสตร์ของ [[ศิลปะ]] [[วิทยาศาสตร์]] [[คณิตศาสตร์]] และ [[วิศวกรรม]] เข้าด้วยกัน <ref> {{cite paper | author = Paul Graham | date = 2003 | url = http://www.paulgraham.com/hp.html | title = Hackers and Painters | accessdate = 2006-08-22}}</ref>


== ภาษาโปรแกรม ==
== ภาษาโปรแกรม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:14, 26 มกราคม 2566

ภาษาโปรแกรม

ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีลักษณะหรือรูปแบบการเขียนที่แตกต่างกัน การเลือกภาษาโปรแกรมหรือภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาเขียนโปรแกรมนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่นนโยบายของบริษัท, ความเหมาะสมของโปรแกรมกับลักษณะงานที่จะถูกนำไปใช้, การเข้ากันได้กับโปรแกรมอื่น ๆ, หรืออาจเป็นความถนัดของแต่ละคน ภาษาโปรแกรมที่มีแนวโน้มในการนำมาเขียนมักเป็นภาษาที่มีคนที่สามารถเขียนได้ทันที หรือหากมีความจำเป็นที่จะต้องเลือกใช้ภาษาอื่น เช่นต้องการเน้นประสิทธิภาพในการทำงานของโปรแกรม ก็อาจจำเป็นต้องหานักเขียนโปรแกรมขึ้นมาจำนวนหนึ่งซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในภาษาโปรแกรมที่ต้องการ และองมีคอมไพเลอร์ที่รองรับภาษาเหล่านั้นด้วย

ลิขสิทธิ์ทางปัญญา

การเขียนโปรแกรม หรือการพัฒนาซอฟต์แวร์ ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของผู้พัฒนาหรือผู้เขียนโปรแกรมหรือบริษัทซอฟต์แวร์ ที่เป็นเจ้าของซอร์สโค้ดของโปรแกรมนั้นๆ โปรดดูรายละเอียดในเรื่อง ลิขสิทธิ์

สาขาวิชาที่มีการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรม

ดูเพิ่ม

อ้างอิง