ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรณีวิทยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.7
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:The Earth seen from Apollo 17.jpg|thumb|300px|[[The Blue Marble]]: ภาพนี้เป็นภาพถ่ายของโลก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ถ่ายโดยแฮร์ริสสัน ชมิตต์ (Harrison Schmitt) นักธรณีวิทยาคนแรกที่ร่วมเดินทางไปกับยานอวกาศอะพอลโล 17 (Apollo 17) ที่เดินทางไปยังดวงจันทร์]]
[[ไฟล์:The Earth seen from Apollo 17.jpg|thumb|300px|[[The Blue Marble]]: ภาพนี้เป็นภาพถ่ายของโลก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ถ่ายโดยแฮร์ริสสัน ชมิตต์ (Harrison Schmitt) นักธรณีวิทยาคนแรกที่ร่วมเดินทางไปกับยานอวกาศอะพอลโล 17 (Apollo 17) ที่เดินทางไปยังดวงจันทร์]]


'''ธรณีวิทยา, ธรณีศาสตร์''' ({{lang-en|Geology}} จาก{{lang-el| γη- (เก-, โลก) และ λογος (ลอกอส, ถ้อยคำ หรือ เหตุผล)}}) เป็น[[วิทยาศาสตร์]]ที่ศึกษาเกี่ยวกับ[[โลก]] [[สสาร]]ต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบของโลก เช่น [[แร่]] [[หิน]] [[ดิน]]และ[[น้ำ]] รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ตั้งแต่กำเนิดโลกจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาทั้งในระดับโครงสร้าง ส่วนประกอบทางกายภาพ [[เคมี]] และ[[ชีววิทยา]] ทำให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา และสภาวะแวดล้อมในอดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นผิว [[วิวัฒนาการ]]ของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนรูปแบบ และวิธีการนำเอา[[ทรัพยากรธรรมชาติ]] มาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอีกด้วย
'''ธรณีวิทยา, ธรณีศาสตร์''' ( จาก) เป็นที่ศึกษาเกี่ยวกับ ต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบของโลก เช่น และ รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ตั้งแต่กำเนิดโลกจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาทั้งในระดับโครงสร้าง ส่วนประกอบทางกายภาพ และ ทำให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา และสภาวะแวดล้อมในอดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นผิว ของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนรูปแบบ และวิธีการนำเอา มาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอีกด้วย


[[นักธรณีวิทยา]]ศึกษาพบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,500 ล้านปี (4.5x10<sup>9</sup> ปี) และเห็นตรงกันว่า[[เปลือกโลก]]แยกออกเป็นหลายแผ่น เรียกว่า[[แผ่นเปลือกโลก]] แต่ละแผ่นเคลื่อนที่อยู่เหนือ[[เนื้อโลก]]หรือ[[แมนเทิล]]ที่มีสภาวะกึ่งหลอมเหลว เรียกกระบวนการนี้ว่า[[การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก]] นอกจากนี้ นักธรณีวิทยายังทำหน้าที่ระบุตำแหน่งและจัดการกับ[[ทรัพยากรธรรมชาติ]] เช่น แหล่ง[[หิน]] แหล่ง[[แร่]] แหล่ง[[ปิโตรเลียม]]เช่น [[น้ำมัน]]และ[[ถ่านหิน]] รวมทั้ง[[โลหะ]]อย่าง[[เหล็ก]] [[ทองแดง]] และ[[ยูเรเนียม]]
ศึกษาพบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,500 ล้านปี (4.5x10<sup>9</sup> ปี) และเห็นตรงกันว่าแยกออกเป็นหลายแผ่น เรียกว่า แต่ละแผ่นเคลื่อนที่อยู่เหนือเนื้อโลกหรือที่มีสภาวะกึ่งหลอมเหลว เรียกกระบวนการนี้ว่า นอกจากนี้ นักธรณีวิทยายังทำหน้าที่ระบุตำแหน่งและจัดการกับ เช่น แหล่ง แหล่ง แหล่งเช่น และ รวมทั้งอย่าง และ


วิชาธรณีวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลากหลายสาขาวิชา เช่น [[ฟิสิกส์]] [[เคมี]] [[ชีววิทยา]] [[คณิตศาสตร์]] มีการบูรณการความรู้จากหลากหลายวิชา เพื่อวิเคราะห์หาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยากายภาพ (Physical Geology) [[ธรณีวิทยาโครงสร้าง]] (Structural Geology) ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (Geotectonics, Tectonics) ตะกอนวิทยา (Sedimentology) [[ธรณีสัณฐานวิทยา]] (Geomorphology) [[ธรณีเคมี]] (Geochemistry) [[ธรณีฟิสิกส์]] (Geophysics) ธรณีอุทกวิทยา (Geohydrology) [[บรรพชีวินวิทยา]] (Paleontology) เป็นต้น
วิชาธรณีวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลากหลายสาขาวิชา เช่น มีการบูรณการความรู้จากหลากหลายวิชา เพื่อวิเคราะห์หาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยากายภาพ (Physical Geology) (Structural Geology) ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (Geotectonics, Tectonics) ตะกอนวิทยา (Sedimentology) (Geomorphology) ธรณีเคมี (Geochemistry) (Geophysics) ธรณีอุทกวิทยา (Geohydrology) (Paleontology) เป็นต้น


วิชาธรณีวิทยานอกโลก ศึกษาองค์ประกอบทางธรณีวิทยาของวัตถุใน อย่างไรก็ตาม ยังมีศัพท์เฉพาะอื่น ๆ ที่ใช้เรียกธรณีวิทยานอกโลก เช่น "" (selenology) ศึกษาธรณีวิทยาบน, ''areology'' ศึกษาธรณีวิทยาบน เป็นต้น
[[ไฟล์:Tectonic plate boundaries.png|thumb|right|350px|'''[[การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก]]''']]


วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก และ น้ำหลาก การกัดเซาะ หรือบรรพชีวินหรือ แหล่งแร่
วิชาธรณีวิทยานอกโลก ศึกษาองค์ประกอบทางธรณีวิทยาของวัตถุใน[[ระบบสุริยะ]] อย่างไรก็ตาม ยังมีศัพท์เฉพาะอื่น ๆ ที่ใช้เรียกธรณีวิทยานอกโลก เช่น "[[ศศิวิทยา]]" (selenology) ศึกษาธรณีวิทยาบน[[ดวงจันทร์]], ''areology'' ศึกษาธรณีวิทยาบน[[ดาวอังคาร]] เป็นต้น

วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก [[ดาวเคราะห์]] และ [[จักรวาล]] [[ธรณีพิบัติภัย]] [[ภูเขาไฟ]] [[แผ่นดินไหว]] [[รอยเลื่อน]] [[สึนามิ]] [[อุทกภัย]] [[น้ำท่วม]] น้ำหลาก การกัดเซาะ [[ดินถล่ม]] [[หลุมยุบ]] [[ภูเขา]] [[แม่น้ำ]] [[ทะเล]] [[มหาสมุทร]] [[ทะเลทราย]] [[ไดโนเสาร์]] [[ซากดึกดำบรรพ์]]หรือบรรพชีวินหรือ[[ฟอสซิล]] [[บั้งไฟพญานาค]] [[ไม้กลายเป็นหิน]] [[ถ่านหิน]] [[น้ำมัน]] [[ปิโตรเลียม]] [[เชื้อเพลิง]] แหล่งแร่ [[เหล็กไหล]] [[อุลกมณี]] [[โลกศาสตร์]]


==ธรณีกาล==
==ธรณีกาล==
ตารางธรณีกาลเป็นการรวบรวมธรณีประวัติทั้งหมดไว้โดยมีจุดอ้างอิงเริ่มต้นวัดจากอายุของหินโบราณที่เก่าที่สุดในซึ่งมีอายุ 4.567 , (gigaannum: billion years ago) โดยมีโลกซึ่งถือกำเนิดขึ้นในเมื่อ 4.54 Ga (gigaannum: พันล้านปีก่อน) และเดินทางมาบรรจบถึงระยะเวลาปัจจุบันซึ่งอยู่ใน
[[ไฟล์:Geologic Clock with events and periods.svg|thumb|300px|ธรณีกาลในแผนผังเชิงนาฬิกาแสดงระยะเวลาสัมพันธ์ของแต่ละช่วงยุคในช่วงธรณีประวัติ]]
{{ดูบทความหลัก|ธรณีกาล}}

ตารางธรณีกาลเป็นการรวบรวมธรณีประวัติทั้งหมดไว้<ref>[http://www.stratigraphy.org/ International Commission on Stratigraphy]</ref>โดยมีจุดอ้างอิงเริ่มต้นวัดจากอายุของหินโบราณที่เก่าที่สุดใน[[ระบบสุริยะ]]ซึ่งมีอายุ 4.567 [[Year#SI prefix multipliers|Ga]],<ref name="4.567">{{Cite journal|doi=10.1126/science.1073950|year=2002|month=Sep|author=Amelin, Y; Krot, An; Hutcheon, Id; Ulyanov, Aa|title=Lead isotopic ages of chondrules and calcium-aluminum-rich inclusions.|volume=297|issue=5587|pages=1678–83|issn=0036-8075|pmid=12215641|journal=Science}}</ref> (gigaannum: billion years ago) โดยมีโลกซึ่งถือกำเนิดขึ้นใน[[บรมยุคฮาเดียน]]เมื่อ 4.54 Ga<ref name="4.54">Patterson, C., 1956. “Age of Meteorites and the Earth.” Geochimica et Cosmochimica Acta 10: p. 230-237.</ref><ref name="4.54 book">{{Cite book|isbn=0804723311|author=G. Brent Dalrymple|year=1994|publisher=Stanford Univ. Press|location=Stanford, Calif.|title=The age of the earth}}</ref> (gigaannum: พันล้านปีก่อน) และเดินทางมาบรรจบถึงระยะเวลาปัจจุบันซึ่งอยู่ใน[[โฮโลซีน|สมัยโฮโลซีน]]
===เหตุการณ์สำคัญในธรณีประวัติ===
===เหตุการณ์สำคัญในธรณีประวัติ===
* 4.567 Ga: กำเนิดระบบสุริยะ<ref name="4.567" />
* 4.567 Ga: กำเนิดระบบสุริยะ
* 4.54 Ga: ดาวเคราะห์โลกถือกำเนิด<ref name="4.54" /><ref name="4.54 book" />
* 4.54 Ga: ดาวเคราะห์โลกถือกำเนิด
* c. 4 Ga: สิ้นสุดยุคการถูกระดมชนอย่างหนักครั้งล่าสุด, กำเนิดสิ่งมีชีวิต
* c. 4 Ga: สิ้นสุดยุคการถูกระดมชนอย่างหนักครั้งล่าสุด, กำเนิดสิ่งมีชีวิต
* c. 3.5 Ga: เริ่มต้น[[photosynthesis|การสังเคราะห์ด้วยแสง]]
* c. 3.5 Ga: เริ่มต้น
* c. 2.3 Ga: ออกซิเจนถูกเติมเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ, โลกลูกบอลหิมะครั้งแรก
* c. 2.3 Ga: ออกซิเจนถูกเติมเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ, โลกลูกบอลหิมะครั้งแรก
* 730–635 Ma (megaannum: ล้านปีก่อน): โลกลูกบอลหิมะครั้งที่สอง
* 730–635 Ma (megaannum: ล้านปีก่อน): โลกลูกบอลหิมะครั้งที่สอง
* 542± 0.3 Ma: การระเบิดในยุคแคมเบรียน – สิ่งมีชีวิตเปลือกแข็งเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้น เป็นยุคที่พบฟอสซิลได้มากยุคแรกในช่วงเริ่มต้นของพาลีโอโซอิก
* 542± 0.3 Ma: การระเบิดในยุคแคมเบรียน – สิ่งมีชีวิตเปลือกแข็งเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้น เป็นยุคที่พบฟอสซิลได้มากยุคแรกในช่วงเริ่มต้นของพาลีโอโซอิก
* c. 380 Ma: สัตว์มีกระดูกสันหลังบนบกถือกำเนิด
* c. 380 Ma: สัตว์มีกระดูกสันหลังบนบกถือกำเนิด
* 250 Ma: การสูญพันธุ์ เพอร์เมียน-ไทรแอสสิก – การสูญพันธุ์ของ 90% ของสัตว์บกในช่วงปลายยุคพาลีโอโซอิก เริ่มต้น[[มีโซโซอิก]]
* 250 Ma: การสูญพันธุ์ เพอร์เมียน-ไทรแอสสิก – การสูญพันธุ์ของ 90% ของสัตว์บกในช่วงปลายยุคพาลีโอโซอิก เริ่มต้น
* 65 Ma: การสูญพันธุ์ ครีเทเชียส-เทอร์เชียรี่ – ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ สิ้นสุดยุค[[มีโซโซอิก]]และเริ่มต้นยุคซีโนโซอิก
* 65 Ma: การสูญพันธุ์ ครีเทเชียส-เทอร์เชียรี่ – ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ สิ้นสุดยุคและเริ่มต้นยุคซีโนโซอิก
* c. 7 Ma – ปัจจุบัน: ยุคของมนุษย์
* c. 7 Ma – ปัจจุบัน: ยุคของมนุษย์
** c. 7 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์โบราณถือกำเนิด
** c. 7 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์โบราณถือกำเนิด
** 3.9 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์ยุคใหม่ถือกำเนิด
** 3.9 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์ยุคใหม่ถือกำเนิด
** 200 ka (kiloannum: พันปีก่อน): มนุษย์ยุคใหม่ (Homo sapiens) ถือกำเนิดใน[[แอฟริกา]]
** 200 ka (kiloannum: พันปีก่อน): มนุษย์ยุคใหม่ (Homo sapiens) ถือกำเนิดใน

[[ไฟล์:geologic.jpg|thumb|right|[[แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000]] จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
== หน่วยงานด้านธรณีวิทยาในประเทศไทย ==
== หน่วยงานด้านธรณีวิทยาในประเทศไทย ==
ในประเทศไทย มีหน่วยงานที่ศึกษา ค้นคว้าด้านธรณีวิทยาหลายหน่วยงานด้วยกัน เช่น
ในประเทศไทย มีหน่วยงานที่ศึกษา ค้นคว้าด้านธรณีวิทยาหลายหน่วยงานด้วยกัน เช่น
=== กรมทรัพยากรธรณี ===
=== กรมทรัพยากรธรณี ===
[[กรมทรัพยากรธรณี]] เป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่มีการทำงานและการศึกษาด้านธรณีวิทยา [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 5]] ได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศตั้ง กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา ขึ้นใน[[กระทรวงเกษตราธิการ]] เมื่อวันที่ [[1 มกราคม]] [[ร.ศ. 110]] ([[พ.ศ. 2434]]) นับจนถึงขณะนี้ เป็นเวลา 117 ปีแล้ว และต่อมาได้ย้ายสังกัดไปขึ้นกับ[[กระทรวง]]ต่าง ๆ ตามยุคสมัย 6 กระทรวง คือ กระทรวงเกษตราธิราช [[กระทรวงมหาดไทย]] [[กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ]] [[กระทรวงเศรษฐการ]] [[กระทรวงอุตสาหกรรม]] และ[[กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ]] โดย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น [[กรมทรัพยากรธรณี]] เมื่อครั้งสังกัด [[กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ]] ภายหลังจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ [[3 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2545]] กรมทรัพยากรธรณี ได้ย้ายมาสังกัด [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] เลขที่ 75/10 ถนนพระรามที่6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
เป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่มีการทำงานและการศึกษาด้านธรณีวิทยา ได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศตั้ง กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา ขึ้นใน เมื่อวันที่ () นับจนถึงขณะนี้ เป็นเวลา 117 ปีแล้ว และต่อมาได้ย้ายสังกัดไปขึ้นกับกระทรวงต่าง ๆ ตามยุคสมัย 6 กระทรวง คือ กระทรวงเกษตราธิราช และ โดย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น เมื่อครั้งสังกัด ภายหลังจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ กรมทรัพยากรธรณี ได้ย้ายมาสังกัด เลขที่ 75/10 ถนนพระรามที่6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
=== ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ===
=== ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ===
เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาแรกของที่เปิดให้มีการเรียนการสอนด้านธรณีวิทยาในระดับอย่างเป็นทางการ โดยเปิดทำการสอนมาตั้งแต่ปี มีศาสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และรักษาการหัวหน้าภาควิชาธรณีวิทยา (สมัยนั้นเรียกแผนกวิชา) มีศาสตราจารย์ ดร. Th. H. F. Klompe ชาวฮอลันดา เป็นผู้ร่างหลักสูตร ร่วมกับ (กรมโลหกิจเดิม) ต่อมาเมื่อวันที่ จึงได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้จัดตั้งเป็นภาควิชาธรณีวิทยาขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างเป็นทางการ
[[ไฟล์:Geologo.gif|thumb|left|สัญลักษณ์ของ[[ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็นรูปของบรรพชีวินแอมโมไนต์และค้อนธรณีวิทยา]]
เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาแรกของ[[ประเทศไทย]]ที่เปิดให้มีการเรียนการสอนด้านธรณีวิทยาในระดับ[[มหาวิทยาลัย]]อย่างเป็นทางการ โดยเปิดทำการสอนมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2501]] มีศาสตราจารย์ ดร. [[แถบ นีละนิธิ]] คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และรักษาการหัวหน้าภาควิชาธรณีวิทยา (สมัยนั้นเรียกแผนกวิชา) มีศาสตราจารย์ ดร. Th. H. F. Klompe ชาวฮอลันดา เป็นผู้ร่างหลักสูตร ร่วมกับ[[กรมทรัพยากรธรณี]] (กรมโลหกิจเดิม) ต่อมาเมื่อวันที่ [[14 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2502]] จึงได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้จัดตั้งเป็นภาควิชาธรณีวิทยาขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] อย่างเป็นทางการ
== แนวทางการเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ==
== แนวทางการเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ==
ผู้ที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อ สาขาวิชาธรณีวิทยา จะต้องมี ความรอบรู้ในสาขาวิทยาศาสตร์ โดยเน้นวิชา[[คณิตศาสตร์]] [[เคมี]] [[ฟิสิกส์]] [[ชีววิทยา]] และสมัครสอบเข้าศึกษาได้โดยการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาตรี ได้แก่
ผู้ที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อ สาขาวิชาธรณีวิทยา จะต้องมี ความรอบรู้ในสาขาวิทยาศาสตร์ โดยเน้นวิชา และสมัครสอบเข้าศึกษาได้โดยการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาตรี ได้แก่
====หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)====
====หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)====
*ภาควิชาธรณีวิทยา ([[Geology]]) คณะวิทยาศาสตร์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
*ภาควิชาธรณีวิทยา (Geology) คณะวิทยาศาสตร์
*ภาควิชาธรณีวิทยา (Geological Sciences) คณะวิทยาศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]
*ภาควิชาธรณีวิทยา (Geological Sciences)
*ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ (Earth Sciences)
*ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี (Geotechnology) [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]
*สาขาวิชาธรณีศาสตร์ (Geosciences) คณะวิทยาศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] วิทยาเขตกาญจนบุรี
*ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ ([[Earth Sciences]]) [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|คณะวิทยาศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
====หลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ (วศ.บ.)====
====หลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ (วศ.บ.)====
*วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี (Geotechnology) สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]]
*วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี (Geotechnology) สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์


แม้ว่าแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีความหลากหลายในรายวิชาแตกต่างกันไป สังเกตได้จากชื่อของสาขาหรือภาควิชา แต่ทุกสถาบันข้างต้นจะให้ความรู้ในเนื้อหาหลักที่สำคัญของธรณีวิทยาแก่ผู้ศึกษาทุกคน รวมถึงการออกภาคสนาม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน<ref>[http://geothai.net/gneiss/?p=48 วิชาการธรณีไทย/www.geothai.net]</ref>
แม้ว่าแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีความหลากหลายในรายวิชาแตกต่างกันไป สังเกตได้จากชื่อของสาขาหรือภาควิชา แต่ทุกสถาบันข้างต้นจะให้ความรู้ในเนื้อหาหลักที่สำคัญของธรณีวิทยาแก่ผู้ศึกษาทุกคน รวมถึงการออกภาคสนาม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Geology}}
=== ข้อมูลธรณีวิทยาประเทศไทย ===
=== ข้อมูลธรณีวิทยาประเทศไทย ===
* [http://www.dmr.go.th/geothai/index.html '''ธรณีวิทยาประเทศไทย'''] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20060423081435/http://www.dmr.go.th/geothai/index.html |date=2006-04-23 }} จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* [http://www.dmr.go.th/geothai/images/geologic.jpg '''แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000'''] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070311130229/http://www.dmr.go.th/geothai/images/geologic.jpg |date=2007-03-11 }} จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* [http://www.dmr.go.th/geothai/images/explanation.jpg '''คำอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000'''] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070311130332/http://www.dmr.go.th/geothai/images/explanation.jpg |date=2007-03-11 }} จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
=== เว็บบอร์ดด้านธรณีวิทยาในประเทศไทย ===
=== เว็บบอร์ดด้านธรณีวิทยาในประเทศ ===
* [http://www.dmr.go.th/board/ เว็บบอร์ดถาม-ตอบ ความรู้ด้านธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]
* ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* กระทรวงพลังงาน
* [http://www.geo.sc.chula.ac.th/boards/ เว็บบอร์ดประจำภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090216141426/http://www.geo.sc.chula.ac.th/boards/ |date=2009-02-16 }}
* โดย ศ.ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
* [http://www.geo.sc.chula.ac.th/ ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]
* โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ โดย สนับสนุนโดย
* [http://www.geol.science.cmu.ac.th/ ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]
* แหล่งรวมความรู้ทางธรณีวิทยาเพื่อคนไทย
* [http://technology.kku.ac.th/Geo/ ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20051018032026/http://technology.kku.ac.th/Geo/ |date=2005-10-18 }}
* [http://earth.sci.ku.ac.th/ ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]
* [http://www.sut.ac.th/engineering/Geo/ สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]
* [http://www.dmr.go.th/ กรมทรัพยากรธรณี] กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* [http://www.dgr.go.th/ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล] กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* [http://www.dmf.go.th/ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ] กระทรวงพลังงาน
* [http://www.ipst.ac.th/ThaiVersion/publications/in_sci/geology.shtml วิทยาศาสตร์น่ารู้ ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20050807013910/http://www.ipst.ac.th/ThaiVersion/publications/in_sci/geology.shtml |date=2005-08-07 }} โดย ศ.ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
* [http://www.lesaproject.com/ โครงการลีซ่า] โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ โดย[[หอดูดาวเกิดแก้ว]] สนับสนุนโดย[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]]
* [http://www.geothai.net/ วิชาการธรณีไทย/www.geothai.net] แหล่งรวมความรู้ทางธรณีวิทยาเพื่อคนไทย


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}

{{Nature nav}}

[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา| ]]
[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา| ]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์| ]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์| ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:49, 6 พฤศจิกายน 2565

The Blue Marble: ภาพนี้เป็นภาพถ่ายของโลก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ถ่ายโดยแฮร์ริสสัน ชมิตต์ (Harrison Schmitt) นักธรณีวิทยาคนแรกที่ร่วมเดินทางไปกับยานอวกาศอะพอลโล 17 (Apollo 17) ที่เดินทางไปยังดวงจันทร์

ธรณีวิทยา, ธรณีศาสตร์ ( จาก) เป็นที่ศึกษาเกี่ยวกับ ต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบของโลก เช่น และ รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ตั้งแต่กำเนิดโลกจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาทั้งในระดับโครงสร้าง ส่วนประกอบทางกายภาพ และ ทำให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา และสภาวะแวดล้อมในอดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นผิว ของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนรูปแบบ และวิธีการนำเอา มาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอีกด้วย

ศึกษาพบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,500 ล้านปี (4.5x109 ปี) และเห็นตรงกันว่าแยกออกเป็นหลายแผ่น เรียกว่า แต่ละแผ่นเคลื่อนที่อยู่เหนือเนื้อโลกหรือที่มีสภาวะกึ่งหลอมเหลว เรียกกระบวนการนี้ว่า นอกจากนี้ นักธรณีวิทยายังทำหน้าที่ระบุตำแหน่งและจัดการกับ เช่น แหล่ง แหล่ง แหล่งเช่น และ รวมทั้งอย่าง และ

วิชาธรณีวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลากหลายสาขาวิชา เช่น มีการบูรณการความรู้จากหลากหลายวิชา เพื่อวิเคราะห์หาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยากายภาพ (Physical Geology) (Structural Geology) ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (Geotectonics, Tectonics) ตะกอนวิทยา (Sedimentology) (Geomorphology) ธรณีเคมี (Geochemistry) (Geophysics) ธรณีอุทกวิทยา (Geohydrology) (Paleontology) เป็นต้น

วิชาธรณีวิทยานอกโลก ศึกษาองค์ประกอบทางธรณีวิทยาของวัตถุใน อย่างไรก็ตาม ยังมีศัพท์เฉพาะอื่น ๆ ที่ใช้เรียกธรณีวิทยานอกโลก เช่น "" (selenology) ศึกษาธรณีวิทยาบน, areology ศึกษาธรณีวิทยาบน เป็นต้น

วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก และ น้ำหลาก การกัดเซาะ หรือบรรพชีวินหรือ แหล่งแร่

ธรณีกาล

ตารางธรณีกาลเป็นการรวบรวมธรณีประวัติทั้งหมดไว้โดยมีจุดอ้างอิงเริ่มต้นวัดจากอายุของหินโบราณที่เก่าที่สุดในซึ่งมีอายุ 4.567 , (gigaannum: billion years ago) โดยมีโลกซึ่งถือกำเนิดขึ้นในเมื่อ 4.54 Ga (gigaannum: พันล้านปีก่อน) และเดินทางมาบรรจบถึงระยะเวลาปัจจุบันซึ่งอยู่ใน

เหตุการณ์สำคัญในธรณีประวัติ

  • 4.567 Ga: กำเนิดระบบสุริยะ
  • 4.54 Ga: ดาวเคราะห์โลกถือกำเนิด
  • c. 4 Ga: สิ้นสุดยุคการถูกระดมชนอย่างหนักครั้งล่าสุด, กำเนิดสิ่งมีชีวิต
  • c. 3.5 Ga: เริ่มต้น
  • c. 2.3 Ga: ออกซิเจนถูกเติมเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ, โลกลูกบอลหิมะครั้งแรก
  • 730–635 Ma (megaannum: ล้านปีก่อน): โลกลูกบอลหิมะครั้งที่สอง
  • 542± 0.3 Ma: การระเบิดในยุคแคมเบรียน – สิ่งมีชีวิตเปลือกแข็งเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้น เป็นยุคที่พบฟอสซิลได้มากยุคแรกในช่วงเริ่มต้นของพาลีโอโซอิก
  • c. 380 Ma: สัตว์มีกระดูกสันหลังบนบกถือกำเนิด
  • 250 Ma: การสูญพันธุ์ เพอร์เมียน-ไทรแอสสิก – การสูญพันธุ์ของ 90% ของสัตว์บกในช่วงปลายยุคพาลีโอโซอิก เริ่มต้น
  • 65 Ma: การสูญพันธุ์ ครีเทเชียส-เทอร์เชียรี่ – ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ สิ้นสุดยุคและเริ่มต้นยุคซีโนโซอิก
  • c. 7 Ma – ปัจจุบัน: ยุคของมนุษย์
    • c. 7 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์โบราณถือกำเนิด
    • 3.9 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์ยุคใหม่ถือกำเนิด
    • 200 ka (kiloannum: พันปีก่อน): มนุษย์ยุคใหม่ (Homo sapiens) ถือกำเนิดใน

หน่วยงานด้านธรณีวิทยาในประเทศไทย

ในประเทศไทย มีหน่วยงานที่ศึกษา ค้นคว้าด้านธรณีวิทยาหลายหน่วยงานด้วยกัน เช่น

กรมทรัพยากรธรณี

เป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่มีการทำงานและการศึกษาด้านธรณีวิทยา ได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศตั้ง กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา ขึ้นใน เมื่อวันที่ () นับจนถึงขณะนี้ เป็นเวลา 117 ปีแล้ว และต่อมาได้ย้ายสังกัดไปขึ้นกับกระทรวงต่าง ๆ ตามยุคสมัย 6 กระทรวง คือ กระทรวงเกษตราธิราช และ โดย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น เมื่อครั้งสังกัด ภายหลังจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ กรมทรัพยากรธรณี ได้ย้ายมาสังกัด เลขที่ 75/10 ถนนพระรามที่6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาแรกของที่เปิดให้มีการเรียนการสอนด้านธรณีวิทยาในระดับอย่างเป็นทางการ โดยเปิดทำการสอนมาตั้งแต่ปี มีศาสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และรักษาการหัวหน้าภาควิชาธรณีวิทยา (สมัยนั้นเรียกแผนกวิชา) มีศาสตราจารย์ ดร. Th. H. F. Klompe ชาวฮอลันดา เป็นผู้ร่างหลักสูตร ร่วมกับ (กรมโลหกิจเดิม) ต่อมาเมื่อวันที่ จึงได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้จัดตั้งเป็นภาควิชาธรณีวิทยาขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างเป็นทางการ

แนวทางการเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี

ผู้ที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อ สาขาวิชาธรณีวิทยา จะต้องมี ความรอบรู้ในสาขาวิทยาศาสตร์ โดยเน้นวิชา และสมัครสอบเข้าศึกษาได้โดยการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาตรี ได้แก่

หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)

  • ภาควิชาธรณีวิทยา (Geology) คณะวิทยาศาสตร์
  • ภาควิชาธรณีวิทยา (Geological Sciences) ค
  • ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ (Earth Sciences)

หลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ (วศ.บ.)

  • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี (Geotechnology) สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์

แม้ว่าแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีความหลากหลายในรายวิชาแตกต่างกันไป สังเกตได้จากชื่อของสาขาหรือภาควิชา แต่ทุกสถาบันข้างต้นจะให้ความรู้ในเนื้อหาหลักที่สำคัญของธรณีวิทยาแก่ผู้ศึกษาทุกคน รวมถึงการออกภาคสนาม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลธรณีวิทยาประเทศไทย

  • จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เว็บบอร์ดด้านธรณีวิทยาในประเทศไ

  • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • กระทรวงพลังงาน
  • โดย ศ.ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
  • โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ โดย สนับสนุนโดย
  • แหล่งรวมความรู้ทางธรณีวิทยาเพื่อคนไทย

อ้างอิง