ข้ามไปเนื้อหา

ซีเคียวร์เชลล์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ซีเคียวเชลล์)
ซีเคียวร์เชลล์
โพรโทคอลสแตก
วัตถุประสงค์secure connection, remote access
ผู้พัฒนาTatu Ylönen, Internet Engineering Task Force (IETF)
มีมาตั้งแต่1995
ชั้นในแบบจำลองโอเอสไอTransport layer through application layer
พอร์ต22
เอกสารขอความเห็นRFC 4250, RFC 4251, RFC 4252, RFC 4253, RFC 4254

ซีเคียวร์เชลล์ (อังกฤษ: Secure Shell) หรือ SSH คือโพรโทคอลเข้ารหัส สำหรับการปฏิบัติการด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ SSHทำงานได้อย่างปลอดภัยแม้จะอยู่ในเครือข่ายที่ไม่ปลอดภัย[1][2] พอร์ตมาตรฐานของ SSH คือพอร์ต 22 นอกจากนี้ SSH ยังเป็นพื้นฐานของการสื่อสารอื่น ๆ เช่น SFTP หรือ SCP

ความเป็นมา

[แก้]

เวอร์ชันแรกของ SSH (ปัจจุบันเรียกว่า SSH-1) ได้ถูกออกแบบมาโดย Tatu Ylönen ในปี พ.ศ. 2538 ซึ่งตอนนั้นเขาเป็นนักวิจัยอยู่ที่ Helsinki University of Technology ในขณะนั้น[3] จุดประสงค์ของการสร้าง SSH ในตอนนั้น คือเพื่อใช้ทดแทน rlogin, เทลเน็ต FTP และ rsh เนื่องด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย[4]

การใช้งาน

[แก้]

SSH เป็นโพรโทคอลที่สามารถใช้ประโยชน์ได้มากมายรวมถึงในระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ (ลินุกซ์, BSD, แมคโอเอส และ โซลาริส) รวมถึงบน ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

อ้างอิง

[แก้]
  1. T. Ylonen; C. Lonvick (January 2006). The Secure Shell (SSH) Protocol Architecture. IETF Trust. doi:10.17487/RFC4251. RFC 4251.
  2. การใช้ Secure Shell ในการเข้าถึงระบบจากระยะไกล เก็บถาวร 2010-07-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. Tatu Ylönen. "The new skeleton key: changing the locks in your network environment". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-20.
  4. Tatu Ylönen. "SSH Port". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-03.

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

[แก้]