ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟล์ภาพดิบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
จัดหมวดหมู่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
ไฟล์ภาพดิบ (raw file format) นั้นคือไฟล์รูปภาพที่บันทึกข้อมูลโดยแทบไม่ผ่านการประมวลผลภาพใดๆ จากเซ็นเซอร์จับภาพของกล้องดิจิตอล, เครื่องสแกนภาพ หรือเครื่องสแกนฟิล์มหนัง ชื่อไฟล์สกุล '"ดิบ"' หรือที่แปลจากภาษาอังกฤษว่า '''raw''' นั้นก็เพราะตัวไฟล์ไม่ได้ผ่านการประมวลผลใดๆ ดังนั้นจึงยังไม่พร้อมสำหรับนำไปอัดภาพหรือตกแต่งด้วยโปรแกรมแต่งภาพ ซึ่งตามปกติแล้ว รูปภาพจะถูกประมวลโดยตัวแปลงภาพ raw ภายในช่วงสีภายในแบบกว้างซึ่งสามารถตกแต่งได้แม่นยำก่อนจะแปลงไปเป็นไฟล์ภาพ '''โพสิทีฟ''' เช่น TIFF หรือ JPEG เพื่อการเก็บบันทึก, สั่งพิมพ์ หรือสำหรับตกแต่งเพิ่มเติม ซึ่งมักจะเข้ารหัสรูปภาพในช่วงสีที่ขึ้นกับตัวอุปกรณ์ (device-dependent) หนึ่งๆ รูปภาพเหล่านี้มักจะถูกเรียกว่า '''ไฟล์ภาพดิบ''' หรือทับศัพท์ว่า '''ไฟล์ภาพสกุล RAW''' แม้จะไม่ได้มีเพียงสกุลภาพดิบสกุลเดียวก็ตาม เพราะตามจริงแล้ว มีไฟล์ภาพดิบนับร้อยที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันตามรุ่นของอุปกรณ์ดิจิตอลต่างๆ (เช่นกล้องหรือเครื่องสแกนฟิล์ม)
'''ไฟล์ภาพดิบ''' ({{lang-en|raw file format}}) นั้นคือไฟล์รูปภาพที่บันทึกข้อมูลโดยแทบไม่ผ่านการประมวลผลภาพใดๆ จากเซ็นเซอร์จับภาพของกล้องดิจิตอล, เครื่องสแกนภาพ หรือเครื่องสแกนฟิล์มหนัง ชื่อไฟล์สกุล '"ดิบ"' หรือที่แปลจากภาษาอังกฤษว่า '''raw''' นั้นก็เพราะตัวไฟล์ไม่ได้ผ่านการประมวลผลใดๆ ดังนั้นจึงยังไม่พร้อมสำหรับนำไปอัดภาพหรือตกแต่งด้วยโปรแกรมแต่งภาพ ซึ่งตามปกติแล้ว รูปภาพจะถูกประมวลโดยตัวแปลงภาพ raw ภายในช่วงสีภายในแบบกว้างซึ่งสามารถตกแต่งได้แม่นยำก่อนจะแปลงไปเป็นไฟล์ภาพ '''โพสิทีฟ''' เช่น TIFF หรือ JPEG เพื่อการเก็บบันทึก, สั่งพิมพ์ หรือสำหรับตกแต่งเพิ่มเติม ซึ่งมักจะเข้ารหัสรูปภาพในช่วงสีที่ขึ้นกับตัวอุปกรณ์ (device-dependent) หนึ่งๆ รูปภาพเหล่านี้มักจะถูกเรียกว่า '''ไฟล์ภาพดิบ''' หรือทับศัพท์ว่า '''ไฟล์ภาพสกุล RAW''' แม้จะไม่ได้มีเพียงสกุลภาพดิบสกุลเดียวก็ตาม เพราะตามจริงแล้ว มีไฟล์ภาพดิบนับร้อยที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันตามรุ่นของอุปกรณ์ดิจิตอลต่างๆ (เช่นกล้องหรือเครื่องสแกนฟิล์ม)


ไฟล์ภาพดิบนั้นบางครั้งก็อาจเรียกว่า ดิจิตอลเนกาทีฟ เพราะว่ามีคุณสมบัติเช่นเดียวกับฟิล์มภาพเนกาทีฟ นั่นคือ ฟิล์มเนกาทีฟนั้นยังไม่สามารถนำไปใช้เป็นภาพได้โดยตรง แต่มีข้อมูลทุกอย่างที่จำเป็นสำหรับการสร้างสรรค์รูปภาพ กระบวนการแปลงไฟล์ภาพดิบให้เป็นไฟล์สกุลที่สามารถเปิดชมได้บางครั้งจึงเรียกว่าการล้างอัดภาพดิบ (raw image developing) เช่นเดียวกันกับขั้นตอนการอัดล้างฟิล์มสำหรับการแปลงฟิล์มภาพให้เป็นภาพพิมพ์ การคัดเลือกกระบวนการแปลงภาพในขั้นสุดท้ายคือส่วนหนึ่งของกระบวนการปรับค่าสมดุลแสงขาวและการเกรดสี
ไฟล์ภาพดิบนั้นบางครั้งก็อาจเรียกว่า ดิจิตอลเนกาทีฟ เพราะว่ามีคุณสมบัติเช่นเดียวกับฟิล์มภาพเนกาทีฟ นั่นคือ ฟิล์มเนกาทีฟนั้นยังไม่สามารถนำไปใช้เป็นภาพได้โดยตรง แต่มีข้อมูลทุกอย่างที่จำเป็นสำหรับการสร้างสรรค์รูปภาพ กระบวนการแปลงไฟล์ภาพดิบให้เป็นไฟล์สกุลที่สามารถเปิดชมได้บางครั้งจึงเรียกว่าการล้างอัดภาพดิบ (raw image developing) เช่นเดียวกันกับขั้นตอนการอัดล้างฟิล์มสำหรับการแปลงฟิล์มภาพให้เป็นภาพพิมพ์ การคัดเลือกกระบวนการแปลงภาพในขั้นสุดท้ายคือส่วนหนึ่งของกระบวนการปรับค่าสมดุลแสงขาวและการเกรดสี
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
* ในกรณีของฟิล์มสแกนภาพยนต์ จะมีรหัสเวลา, รหัสคีย์ หรือเลขเฟรมภาพในลำดับไฟล์ สำหรับใช้แทนลำดับเฟรมภาพในม้วนฟิล์มที่สแกน ซึ่งสำคัญที่สุดเพราะช่วยให้ไฟล์เรียงลำดับตามเฟรมได้โดยไม่ต้องพึ่งจากชื่อไฟล์
* ในกรณีของฟิล์มสแกนภาพยนต์ จะมีรหัสเวลา, รหัสคีย์ หรือเลขเฟรมภาพในลำดับไฟล์ สำหรับใช้แทนลำดับเฟรมภาพในม้วนฟิล์มที่สแกน ซึ่งสำคัญที่สุดเพราะช่วยให้ไฟล์เรียงลำดับตามเฟรมได้โดยไม่ต้องพึ่งจากชื่อไฟล์
* ข้อมูลเซนเซอร์ภาพ
* ข้อมูลเซนเซอร์ภาพ

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* Adobe: [http://www.adobe.com/digitalimag/pdfs/understanding_digitalrawcapture.pdf Understanding Raw Files]"; background on how camera sensors treat raw files
* [http://www.openraw.org/ Open RAW]: a [[working group]] of photographers, software engineers and other people interested in advocating the open documentation of digital camera raw files
* Atkins, Bob: "[http://www.photo.net/learn/raw/ Raw, JPEG, and TIFF]"; common file formats compared.
* Coupe, Adam: "[http://www.adamcoupe.com/whitepapers/photography_technique_benefits_of_shooting_in_raw.htm The benefits of shooting in RAW]"; Article with diagrams explaining the RAW format and its advantages.
* Goldstein, Jim M.: "[http://www.jmg-galleries.com/articles/raw_vs_jpeg_is_shooting_raw_right_for_me.html RAW vs JPEG: Is Shooting RAW Format for Me?]"; an editorial.
* [http://www.illustratedphotography.com/basic-photography/working-camera-raw-mode/ Basic Photography lesson in Camera Raw] A pros and cons approach to the discussion of shooting in Camera Raw
* Clevy, Laurent: "[http://lclevy.free.fr/cr2 Inside the Canon RAW format v2: understanding the .CR2 file format]"
* Foi, Alessandro: "[http://www.cs.tut.fi/~foi/sensornoise.html Signal-dependent noise modeling, estimation, and removal for digital imaging sensors]"; with Matlab software and raw-data samples of Canon, Nikon, Fujifilm cameras.
* [http://photivo.org Photivo]


[[หมวดหมู่:รูปแบบแฟ้มภาพกราฟิกส์]]
[[หมวดหมู่:รูปแบบแฟ้มภาพกราฟิกส์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:52, 16 กันยายน 2554

ไฟล์ภาพดิบ (อังกฤษ: raw file format) นั้นคือไฟล์รูปภาพที่บันทึกข้อมูลโดยแทบไม่ผ่านการประมวลผลภาพใดๆ จากเซ็นเซอร์จับภาพของกล้องดิจิตอล, เครื่องสแกนภาพ หรือเครื่องสแกนฟิล์มหนัง ชื่อไฟล์สกุล '"ดิบ"' หรือที่แปลจากภาษาอังกฤษว่า raw นั้นก็เพราะตัวไฟล์ไม่ได้ผ่านการประมวลผลใดๆ ดังนั้นจึงยังไม่พร้อมสำหรับนำไปอัดภาพหรือตกแต่งด้วยโปรแกรมแต่งภาพ ซึ่งตามปกติแล้ว รูปภาพจะถูกประมวลโดยตัวแปลงภาพ raw ภายในช่วงสีภายในแบบกว้างซึ่งสามารถตกแต่งได้แม่นยำก่อนจะแปลงไปเป็นไฟล์ภาพ โพสิทีฟ เช่น TIFF หรือ JPEG เพื่อการเก็บบันทึก, สั่งพิมพ์ หรือสำหรับตกแต่งเพิ่มเติม ซึ่งมักจะเข้ารหัสรูปภาพในช่วงสีที่ขึ้นกับตัวอุปกรณ์ (device-dependent) หนึ่งๆ รูปภาพเหล่านี้มักจะถูกเรียกว่า ไฟล์ภาพดิบ หรือทับศัพท์ว่า ไฟล์ภาพสกุล RAW แม้จะไม่ได้มีเพียงสกุลภาพดิบสกุลเดียวก็ตาม เพราะตามจริงแล้ว มีไฟล์ภาพดิบนับร้อยที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันตามรุ่นของอุปกรณ์ดิจิตอลต่างๆ (เช่นกล้องหรือเครื่องสแกนฟิล์ม)

ไฟล์ภาพดิบนั้นบางครั้งก็อาจเรียกว่า ดิจิตอลเนกาทีฟ เพราะว่ามีคุณสมบัติเช่นเดียวกับฟิล์มภาพเนกาทีฟ นั่นคือ ฟิล์มเนกาทีฟนั้นยังไม่สามารถนำไปใช้เป็นภาพได้โดยตรง แต่มีข้อมูลทุกอย่างที่จำเป็นสำหรับการสร้างสรรค์รูปภาพ กระบวนการแปลงไฟล์ภาพดิบให้เป็นไฟล์สกุลที่สามารถเปิดชมได้บางครั้งจึงเรียกว่าการล้างอัดภาพดิบ (raw image developing) เช่นเดียวกันกับขั้นตอนการอัดล้างฟิล์มสำหรับการแปลงฟิล์มภาพให้เป็นภาพพิมพ์ การคัดเลือกกระบวนการแปลงภาพในขั้นสุดท้ายคือส่วนหนึ่งของกระบวนการปรับค่าสมดุลแสงขาวและการเกรดสี

ไฟล์ภาพดิบจะคล้ายกับฟิล์มเนกาทีฟตรงที่ภาพอาจมีช่วงไดนามิกเรนจ์หรือช่วงกว้างของสีที่กว้างกว่า และเก็บรักษาข้อมูลส่วนใหญ่ไว้ในภาพที่ถ่ายมา วัตถุประสงค์ของไฟล์ภาพดิบนั้นก็เพื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่รับมาจากเซนเซอร์และสภาพแวดล้อมรูปที่ถ่าย (metadata) โดยสูญเสียข้อมูลให้น้อยที่สุด

แนวคิด

ไฟล์ภาพดิบนั้นมีจุดประสงค์เพื่อคัดลอกข้อมูลแสงสีของรูปภาพให้ใกล้เคียงที่สุดตามประสิทธิภาพของตัวเซนเซอร์นั้นๆ ข้อมูลดังกล่าวคือข้อมูลทางกายภาพเกี่ยวกับความเข้มของแสงและสีของทิวทัศน์ภาพ

ไฟล์ภาพดิบส่วนใหญ่จะเก็บบันทึกข้อมูลที่รับรู้ตามรูปลักษณะเชิงเรขาคณิตของส่วนรับภาพของเซนเซอร์ (บางครั้งเรียก พิกเซล) แทนที่จะเป็นจุดในภาพขั้นสุดท้าย เช่น เซนเซอร์ที่มีการจัดเรียงส่วนรับภาพหกเหลี่ยมก็จะเก็บบันทึกข้อมูลสำหรับแต่ละช่องเซลล์หกเหลี่ยมนั้น แล้วซอฟต์แวร์แปลงข้อมูลก็จะเปลี่ยนให้เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมในระหว่างการล้างอัดภาพดิจิตอลในภายหลัง

ส่วนประกอบไฟล์

ไฟล์ภาพดิบจะประกอบไปด้วยข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการอัดภาพจากข้อมูลเซนเซอร์ของกล้อง โครงสร้างของไฟล์ดิบรวมถึงมาตรฐานไฟล์ภาพดิบ ISO 12234-2 มักจะมีรูปแบบคล้ายกันดังนี้

  • ส่วนต้นของไฟล์สั้นๆ ที่มักจะระบุการจัดเรียงข้อมูลของไฟล์ ตัวระบุไฟล์ และต่อไปยังข้อมูลไฟล์หลัก
  • ข้อมูล metadata ของเซนเซอร์กล้อง ที่จำเป็นสำหรับการแปลข้อมูลภาพ ซึ่งรวมไปถึงขนาดของเซนเซอร์, คุณสมบัติของ CFA และโปรไฟล์สี
  • ข้อมูล metadata ของภาพ ที่จำเป็นสำหรับ CMS หรือฐานข้อมูล ซึ่งประกอบไปด้วยการตั้งค่ารับแสง, รุ่นกล้อง/สแกนเนอร์/เลนส์, วันที่ (และบางครั้งก็ระบุสถานที่) ขณะถ่าย/สแกน, ข้อมูลเจ้าของไฟล์และอื่นๆ ไฟล์ดิบบางไฟล์ก็จะมีส่วน metadata มาตรฐานพร้อมข้อมูลในรูปแบบ Exif
  • รูปขนาดย่อ
  • รูปไฟล์สกุล JPEG ขนาดย่อ สำหรับไว้เปิดดูตัวอย่างที่ไม่ต้องประมวลผลมาก
  • ในกรณีของฟิล์มสแกนภาพยนต์ จะมีรหัสเวลา, รหัสคีย์ หรือเลขเฟรมภาพในลำดับไฟล์ สำหรับใช้แทนลำดับเฟรมภาพในม้วนฟิล์มที่สแกน ซึ่งสำคัญที่สุดเพราะช่วยให้ไฟล์เรียงลำดับตามเฟรมได้โดยไม่ต้องพึ่งจากชื่อไฟล์
  • ข้อมูลเซนเซอร์ภาพ

แหล่งข้อมูลอื่น