ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Mattis/กระบะทราย 1"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
{{ระวังสับสน|สามเทพสุภา}}
{{ระวังสับสน|สามเทพสุภา}}


{{ระวังสับสน|ป้อมปราการ}}
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
{{ภาพวาด| image_file=Wilton diptych.jpg
[[ไฟล์:Jinshangling2.jpg|thumb|260px |[[Great Wall of China]] เป็น “ระบบป้อมปราการ” ชนิดหนึ่ง]]
| title=ฉากแท่นบูชาวิลทัน
'''ระบบป้อมปราการ''' ({{lang-en|Fortification}} ([http://www.forvo.com/word/Fortification#en ออกเสียง])) คือสิ่งก่อสร้างทางยุทธศาสตร์หรือตึกที่ออกแบบเพื่อการป้องกันตนเองในยาม[[สงคราม]]หรือใช้เป็น[[military base|ที่มั่น]] การสร้างระบบป้อมปราการเป็นการก่อสร้างที่เริ่มทำกันมาเป็นเวลาหลายพันปีในรูปแบบที่เริ่มตั้งแต่เพียงโครงสร้างง่ายๆ มาจนเป็นระบบที่สลับซับซ้อน เช่นในการสร้าง[[ป้อมดาว]]ใน[[ยุคกลาง]]
| etitle=<small>Wilton Diptych</small>
| artist=ไม่ทราบนาม
| year=ราว [[ค.ศ. 1395]] - [[ค.ศ. 1399]]
| type= [[จิตรกรรมสีฝุ่นเทมเพอรา]]
| height=?
| width=?
| museum= [[หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน]]}}
[[Image:Wilton diptych2.jpg|thumb|300px|ด้านนอกของบานพับภาพเป็นภาพ[[ตราอาร์ม|ตราประจำพระองค์]]ของ[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ|นักบุญเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]]เสียบด้วยตราของพระมหากษัตริย์อังกฤษ (''l.'') และ กวางขาวของของพระเจ้าริชาร์ด (''r.'')]]
'''ฉากแท่นบูชาวิลทัน''' หรือ '''บานพับภาพบูชาวิลทัน''' ({{lang-en|Wilton Diptych}}) เป็น[[บานพับภาพ]][[ฉากแท่นบูชา]]ขนาดเล็กที่เขียนบนแผ่นไม้สองแผ่นสองด้านที่ยึดติดกันด้วยบานพับ งานฉากแท่นบูชาวิลทันเป็นงานศิลปะที่หายากที่เป็น[[จิตรกรรมแผง]]เพียงไม่กี่ชิ้นที่ยังหลงเหลือมาจากปลายยุคกลางของอังกฤษ


ในภาษาอังกฤษ “Fortification” แผลงมาจากภาษาลาติน “Fortis” ที่แปลว่า “แข็งแรง” และคำว่า “Facere” ที่แปลว่า “สร้าง”
“ฉากแท่นบูชาวิลทัน” ที่เขียนขึ้นราวระหว่างปี [[ค.ศ. 1395]] ถึงปี [[ค.ศ. 1399]] ปัจจุบันเป็นของ[[หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน|หอศิลป์แห่งชาติ]]ใน[[ลอนดอน]]ใน[[สหราชอาณาจักร]] เป็นงานที่สร้างขึ้นสำหรับ[[สมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ]]ผู้ที่ปรากฏบนภาพเป็นผู้คุกเข่าต่อพระพักตร์ของ[[พระแม่มารีและพระบุตร]]ที่เรียกกันว่า “[[ภาพเหมือนผู้อุทิศ]]” “ฉากแท่นบูชาวิลทัน” เป็นตัวอย่างงานอันมีฝีมือดีของการเขียนแบบ[[ศิลปะกอธิคนานาชาติ]]โดยศิลปินไม่ทราบนามที่อาจจะเป็นชาวฝรั่งเศสหรืออังกฤษก็ได้


==ภาพ==
== ระเบียงภาพ ==
<gallery>
“ฉากแท่นบูชาวิลทัน” เป็นฉากที่เขียนบนแผ่นไม้โอ้คบอลติคสองแผ่น ภายในกรอบไม้ชนิดเดียวกัน และเชื่อมต่อกันด้วยบานพับเพื่อให้ปิดเปิดได้ ภาพด้านในยังคงอยู่ในสภาพที่ดีมากเมื่อคำนึงถึงอายุของภาพ และภาพด้านนอกถลอกไปบ้างจากการจับถือ<ref>[http://www.history.ac.uk/richardII/wilton.html Richard II's Treasure] the other most detailed description online</ref>
Image:Nakhal.fort.jpg|ป้อมนาคาลNakhal Fort, one of the best-preserved forts in [[Oman]]

Image:Derawar Fort 3 by gul791.jpg|[[Derawar Fort]] ([[Pakistan]])
เทคนิคการเขียนเป็น[[จิตรกรรมสีฝุ่นเทมเพอรา]] โดยการบดรงควัตถุกับไข่แดงและทาบนสารเคลือบบางๆ ฉากหลังและรายละเอียดตกแต่งฝังด้วยทองคำเปลว และบางบริเวณก็มีการบากเข้าไปในผิวรูปส่วนที่เป็นทองเล็กน้อยเพื่อเพิ่มคุณลักษณะของภาพ แผงที่เป็นภาพ[[พระแม่มารีและพระบุตร]] เครื่องแต่งกายเป็นสีน้ำเงินทั้งหมด ซึ่งมาจากรงควัตถุที่ทำจากหินมีค่า[[ลาพิส ลาซูไล]] ฉลองพระองค์ของพระเจ้าริชาร์ดเป็น[[vermilion|สีแดงชาด]]ซึ่งเป็นสีที่มีค่าอีกสีหนึ่ง สีบางสีในภาพเปลี่ยนไปจากสีเดิม เช่นดอกกุหลาบบนผมของเทวดาเดิมเป็นสีชมพูแก่ และลานหญ้าที่กวางนอนบนภาพด้านนอกสีคร่ำกว่าเมื่อแรกเขียน
Image:Bala Hisar.jpg|[[Bala Hisar Fort]] in ([[Peshawar]], [[Pakistan]])

Image:Fort-detail.jpg|[[Kot Diji Fort]] ([[Sindh]] , [[Pakistan]])
แม้ว่าตัวบุคคลในภาพในแผงสองแผงจะหันหน้าเข้าหากันและประสานตากัน แต่ตัวแบบของแต่ละฉากอยู่บนฉากหลังที่ต่างกัน มนุษย์ในแผงซ้ายมีฉากหลังเป็นหินและป่าและท้องฟ้าสีทองที่ตกแต่งด้วยลายที่ใช้การตอกด้วยโลหะ ส่วนตัวแบบในแผงขวายืนอยู่บนทุ่งดอกไม้ ฉากหลังเป็นทองที่ประดับด้วยลายที่ตอกด้วยโลหะที่ต่างจากแผงซ้าย
Image:Mehrangarh Fort.jpg|[[Mehrangarh Fort]] in [[Jodhpur]] ([[Rajasthan]], [[India]])

Image:RedFort.jpg|[[Delhi Fort]] in [[New Delhi]] ([[Delhi]], [[India]])
[[Image:The Wilton Diptych (left).jpg|thumb|left|200px|แผ่นซ้ายของแผง]]
Image:Grainan of aileach.jpg|Gríanán of Aileach, ancient Irish ringfort, Donegal.
แผงซ้ายพระเจ้าริชาร์ดทรงได้รับการนำเข้าถวายตัวโดย[[นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์]], [[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ|นักบุญเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]] และ [[Edmund the Martyr|นักบุญเอ็ดมันด์ผู้พลีชีพ]] แต่ละองค์ก็มี[[attribute|เครื่องหมายประจำตัว]] แผงขวาเป็นพระแม่มารีและพระบุตรในอ้อมพระกรล้อมรอบด้วยเทวดาสิบเอ็ดองค์บนฉากหลังที่เป็นสีทอง บนพื้นที่เป็นทุ่งดอกไม้เล็กๆ ต่างสี<ref>National Gallery website [http://www.nationalgallery.org.uk/cgi-bin/WebObjects.dll/CollectionPublisher.woa/wa/work?workNumber=NG4451]</ref>
Image:GreatWallTower.jpg|A restored portion of the [[Great Wall of China]]

Image:Koblenz_fortress.jpg|Fortress Ehrenbreitstein in [[Koblenz]], Germany
ฉลองพระองค์คลุมของพระเจ้าริชาร์ดเป็น[[cloth of gold|ผ้าทอง]] (Cloth of gold) และสีแดงชาด เนื้อผ้ามีลายตกแต่งด้วยกวางสีขาวและยอด[[rosemary|โรสมรี]]<!--อ่านอย่างอังกฤษ--> ซึ่งเป็นตราของพระอัครมเหสี[[แอนน์แห่งโบฮีเมีย สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|แอนน์แห่งโบฮีเมีย]]ผู้สิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1394 รอบพระศอเป็นทรงสวมสร้อยทองประดับด้วยฝัก[[Cytisus scoparius|ดอกไม้กวาด]]ดอกไม้กวาด (Cytisus scoparius) ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ที่พบทั่วไปที่เป็นที่มาของ “planta genista” ซึ่งเป็นที่มาของชื่อของราชวงศ์ของพระองค์--[[ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท]] นอกจากนั้นก็ยังเป็นตราสัญลักษณ์ของ[[พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส]] พระราชบิดาของ[[อิสซาเบลลาแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|อิสซาเบลลาแห่งวาลัวส์]]ผู้ทรงเสกสมรสด้วยในปี ค.ศ. 1396 พระเจ้าริชาร์ดทรงได้รับพระราชทานสร้อยพระศอจากพระเจ้าชาร์ลส์ในปี ค.ศ. 1393 และการทรงสวมสร้อยพระศอดังว่าก็อาจจะเป็นการระบุเวลาของงานเขียนว่าเกิดขึ้นหลังจากการเสกสมรสครั้งที่สองของพระองค์กับอิสซาเบลลาแห่งวาลัวส์ผู้มีพระชนม์ได้ 6 พรรษาในปี ค.ศ. 1396<ref>Gordon, Dillian; [http://www.jstor.org/pss/885276 "A New Discovery in the Wilton Diptych" (JSTOR)], p. 662,
Image:Salzburg_fortress.jpg|Fortress in [[Salzburg, Austria]]
''The Burlington Magazine'', Vol. 134, No. 1075 (Oct., 1992), pp. 662-667</ref>
Image:Genoa_towers.jpg|Towers on [[city wall]] in [[Genoa]], Italy

Image:Tower_cologne.jpg|Tower on [[city wall]] in [[Cologne]], Germany
แม้ว่าการจัดภาพทั้งสองจะอยู่ในบริบทเดียวกัน และการวางองค์ประกอบของภาพให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน ฉากพระเจ้าริชาร์ดและนักบุญผู้พิทักษ์เป็นฉากที่เรียบง่าย แต่เต็มไปด้วยสีและผิวภาพที่ตัดกันอย่างวิจิตร ส่วนฉากพระแม่มารีเป็นฉากที่เต็มไปด้วยพลังและความเคลื่อนไหวที่เกิดจากการล้อมพระแม่มารีและพระบุตรด้วยเทวดา สีน้ำเงินสดให้ความรู้สึกของความมีค่าที่เป็นสัญลักษณ์ของคุณลักษณะของความศักดิ์สิทธิ์และความเหนือโลก พื้นที่เป็นลานดอกไม้ก็เป็นสัญลักษณ์ของสวนสวรรค์ การใช้ความตัดกันของโทนสีของปีกของเทวดาทำให้ตัวเทวดาดูเหมือนแทบจะลอยออกมาจากฉากหลัง
Image:Coastal fortification, gun turret schematic.png|Coastal fortification with a rotating gun turret.

Image:Coastal fortification, fixed battery schematic.png|Coastal fortification with fixed guns.
เมื่อปิดบานพับ ด้านนอกก็จะเป็นภาพกวางขาวนอนสวมสร้อย[[จุลมงกุฎ]]และสร้อยทองซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้าริชาร์ดบนบานหนึ่ง บนลานหญ้าบนกิ่งโรสมรีซึ่งเป็นตราของพระอัครมเหสี[[แอนน์แห่งโบฮีเมีย สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|แอนน์แห่งโบฮีเมีย]] ฉากหลังเป็นฟ้าสีทอง แผงอีกข้างหนึ่งเป็น[[ตราอาร์ม|ตราประจำพระองค์]]ของ[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ|นักบุญเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]]เสียบด้วยตราของพระมหากษัตริย์อังกฤษ (''l.'') พระเจ้าริชาร์ดทรงเริ่มใช้ตรานี้ราวปี ค.ศ. 1395 ตราประจำพระองค์ของนักบุญเอ็ดเวิร์ดเป็นตราที่ประดิษฐ์ขึ้นภายหลัง เพราะการใช้[[มุทราศาสตร์|ตราอาร์ม]]มิได้ทำกันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 หลังจากที่เสด็จสวรรคตไปแล้ว<ref>Richard II's Treasure [http://www.history.ac.uk/richardII/wilton.html]</ref>
Image:Eleutheres1.jpg| Fortress of [[Eleutherae]]

Image:CMR - Tour martello 2.JPG|Fort Frederick [[Martello Tower]] in [[Kingston, Ontario]] at [[Royal Military College of Canada]]
==ความหมายและสัญลักษณ์==
Image:Model of the Redoubt Fortress.jpg|The model of the [[Eastbourne Redoubt]] Fortress on display at the [[Eastbourne Redoubt]] museum
[[Image:The Wilton Diptych (Right).jpg|thumb|200px|แผงขวาของบานพับภาพ]]
Image:Wishtower3.jpg|The Wish Tower in [[Eastbourne]]
ผู้ที่คุกเข่านั้นเป็นที่ทราบแน่ว่าเป็นพระเจ้าริชาร์ดเพราะว่าพระองค์และเทวดาล้อมรอบพระแม่มารีต่างก็มีตรากวางขาวของพระองค์ ที่ปรากฏบนภาพบนบานด้านนอกด้วย พระบุตรยื่นพระกรในท่าประทานพร (benediction) มายังพระเจ้าริชาร์ดผู้ทรงคุกพระชานุอยู่ต่อหน้าพระองค์ และ ทรงยื่นไปทาง[[Pennon|ธงเพนนอน]]ที่เทวดาถืออยู่ระหว่างองค์พระเยซูและพระเจ้าริชาร์ด ธงเพนนอนเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นพระมหากษัตริย์ของพระเจ้าริชาร์ดและของ[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]]ทั้งหมด บนธงเป็น[[St. George's cross|กางเขนเซนต์จอร์จ]]ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของอังกฤษ และบนยอดเสาธงเป็นลูกโลกที่มีแผนทีอังกฤษเล็กๆ ประดับอยู่<ref>The Cross of St. George symbolises the "Triumph of the Cross" and is often used symbolically in paintings of the resurrected Christ.</ref> หรือ ไอร์แลนด์ที่พระเจ้าริชาร์ดเสด็จไปทำสงครามระหว่างปี ค.ศ. 1394 ถึงปี ค.ศ. 1395 ที่อาจจะทำให้สันนิษฐานได้ว่าอาจจะเพิ่งเป็นการมอบธงโดยพระเจ้าริชาร์ด<ref name="Langmuir:96">Langmuir:96</ref> เทวดาในภาพออกจะเป็นสิ่งที่แปลก และมาตรงกับกวีนิพนธ์โดยวิลเลียม เช็คสเปียร์ในบทละครเรื่อง “Richard II” ที่เขียนเมื่อสองร้อยปีต่อมา:<ref>Levey (1987):210</ref>
Image:Suomenlinna.jpg|[[Suomenlinna]] Sea Fortress in [[Helsinki]], [[Finland]]
::The breath of worldly men cannot depose
Image:Kehle Casa Ratti.jpg|Gorge of Forte Casa Ratti ([[:de:Forte Casa Ratti|de]]) (Province [[Belluno]] / [[Italy]])
::The deputy elected by the Lord:
</gallery>
::For every man that Bolingbroke hath press'd
::To lift shrewd steel against our golden crown,
::God for his Richard hath in heavenly pay
::A glorious angel: then, if angels fight,
::Weak men must fall, for heaven still guards the right. (Act III Scene 2)</blockquote>

ซึ่งอาจจะเป็นได้ว่าเช็คสเปียร์อาจจะมีโอกาสได้เห็นภาพนี้ที่ขณะนั้นยังเป็นของ[[งานสะสมศิลปะหลวงของพระราชวงศ์อังกฤษ|งานสะสมศิลปะหลวง]]

นักบุญทั้งสามองค์ผู้นำตัวพระเจ้าริชาร์ดผู้ทรงคุกพระชานุไปถวายต่อ[[พระแม่มารีและพระบุตร]]เชื่อกันว่าเป็นนักบุญที่พระเจ้าริชาร์ดทรงมีความสักการะเพราะแต่ละองค์ก็มี[[ชาเปล]]ส่วนพระองค์อยู่ภายใน[[แอบบีเวสต์มินสเตอร์]] นักบุญแต่ละองค์ต่างก็มี[[attribute|เครื่องหมายประจำตัว]]ที่เป็นที่รู้จักกันในงานศิลปะโดยทั่วไป [[Edmund the Martyr|นักบุญเอ็ดมันด์ผู้พลีชีพ]]ผู้ที่ยืนอยู่ทางซ้ายสุดถือลูกศรที่สังหารพระองค์ในปี ค.ศ. 869 ขณะที่ [[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ|นักบุญเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]]ถือแหวนที่มอบให้แก่นักแสวงบุญผู้ที่คือ[[นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์]]ที่แปลงตัวมา [[นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์]]ถือ[[Lamb of God|ลูกแกะของพระเจ้า]]

โครงสร้างของฉากนี้มีนัยยะถึงวันประสูติของพระเจ้าริชาร์ดเมื่อวันที่ 6 มกราคม ซึ่งเป็นวันสมโภชน์อีพิฟานี เมื่อพระเยซูทรงได้รับ[[การชื่นชมของแมไจ|การชื่นชมจากสามกษัตริย์]]ที่มักจะวางองค์ประกอบของภาพในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน และวันนี้เป็นวันเดียวกันการวันสมโภชน์การถวายศีลจุ่มแก่พระเยซูโดยนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ด้วย<ref>The National Gallery Companion Guide, 1997, E Langmuir, page 95</ref> นอกจากนั้นก็ยังกล่าวกันว่าการประสูติของพระเจ้าริชาร์ดที่[[บอร์โดซ์]]ใน[[ฝรั่งเศส]]มีพระมหากษัตริย์จากสเปน, นาวาร์ และ โปรตุเกสเป็นพยาน

[[นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์]]เป็นนักบุญผู้พิทักษ์ของพระเจ้าริชาร์ดและ[[Edmund the Martyr|นักบุญเอ็ดมันด์ผู้พลีชีพ]]และ[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ|นักบุญเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ]]ต่างก็ทรงเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษมาก่อน โดยเฉพาะนักบุญเอ็ดมันด์ที่พระเจ้าริชาร์ดทรงมีความศรัทธาเป็นอย่างสูงและเป็นนักบุญผู้พิทักษ์ของอังกฤษด้วย


[[Image:The Wilton Diptych(Edmund detail).jpg|thumb|180px|left|รายละเอียด[[Edmund the Martyr|นักบุญเอ็ดมันด์ผู้พลีชีพ]]]]
The date of the ''Wilton Diptych'' has been the subject of considerable controversy among art historians.<ref>[http://history-of-art.blogspot.com/2005/09/wilton-diptych.html Usefully summarized by Laurence Scharfe]</ref> The National Gallery follow a broad current consensus in dating the painting to the last five years of Richard's reign, but dates between 1377 and about 1413 have been proposed.<ref name="Tudor-Craig:134">Tudor-Craig:134</ref> Richard was born in 1367, and the portrait seems to be of a younger man than the twenty-eight-year-old he was in 1395. It has been suggested that the eleven angels each represent a year of his age at the start of his actual reign, which began in 1377, when he gave eleven of the coins called [[angel (coin)|angels]] to "Our Lady of the Pew" at [[Westminster Abbey]]. The painting would then have been made more than fifteen years later to commemorate the moment.<ref name="Tudor-Craig:134"/> Alternatively the painting might represent Richard's reception into heaven after his death in 1399, though given the circumstances of his deposition, who would have commissioned such a work in the next reign is unclear.<ref>Levey (1971):21-22</ref>
The problem of the unusual number of angels has still not found an ultimate solution. It should be noted that it is in obvious contradiction with the iconography of the heavenly court of the Virgin, because in medieval iconography the number eleven has extremely negative symbolism. Considering the Biblical exegesis and medieval number symbolism, a possible interpretation of the enigmatic number of angels can be found in the Biblical motif of the second dream of young [[Joseph (Hebrew Bible)|Joseph]] (Genesis 37:9) in which the number eleven exceptionally has a positive meaning because it implicates the celestial twelve. The sun, the moon and eleven stars that in Joseph's dream are bowing down to him are completed by Joseph himself, who according to medieval exegesis is to be taken for a twelfth star. Having in mind the historical evidence of Richard II's personal regal iconography of the anointed king and the documented Biblical allusions, it seems that the motif of youthful Joseph honoured in his dream by the sun, representing the Christ, the moon, representing the Virgin and eleven stars representing his brothers offers a significant parallel to the vision of the heavenly court with Jesus Christ, the Virgin and eleven angelic courtiers appearing in front of the eyes of King Richard II.<ref>Germ (2003):13-17</ref>

The painting is indicative of both Richard's belief in his [[divine right of kings|divine right]] to rule and his genuine [[Christianity|Christian]] devotion. It also importantly symbolises (in the form of the Pennant), Richard II giving his kingdom into the hands of the Holy Virgin, thereby continuing a long tradition by which England was known as "Our Lady's Dowry" and was thought to be specially under her protection. Another painting, now lost, showed Richard and Anne offering the Virgin an [[orb]] representing England, with the inscription "This is your dowry, O Holy Virgin, wherefore, O Mary, may you rule over it".<ref name="Langmuir:96"/>

==Authorship==
[[Image:Prag Votivbild Ocko.jpg|thumb|200px|Richard's father-in-law [[Emperor Charles IV]] and brother-in-law presented to the Virgin by royal saints, Bohemia ca. 1370 (detail) by [[Theodoric of Prague]]]]

The artist, sometimes referred to as the "Wilton Master", has never been identified, or associated with other panel paintings, and the closest resemblances to his style come in some [[illuminated manuscript]]s from the 1410s. At this period it was common in Northern Europe for panel paintings, still made in very small numbers, to be made by artists with a background in illumination. The date of the painting, at a time when the International Gothic style was at its most similar in several courts in Europe, makes identifying the nationality of its painter more difficult. It is possible that the painter was [[England|English]], but apart from the Westminster portrait of Richard, now unlike the Diptych much overpainted, there are too few comparable works to establish in what style the recorded English painters worked.

The artist has been proposed as coming from "every possible nation",<ref name="Tudor-Craig:134"/> but France seems the most likely, with Italy another possibility, and some art historians point to the possibility of a [[Bohemian]] artist, perhaps brought to England by Richard II's first wife, [[Anne of Bohemia]]. <ref>[http://history-of-art.blogspot.com/2005/09/wilton-diptych.html The debate is summarized by Laurence Scharfe]</ref><ref>Wilton Diptych, Guardian unlimited [http://arts.guardian.co.uk/portrait/story/0,,948391,00.html]</ref> The exquisite quality of the painting is thought by most art historians to indicate that the artist was probably from Northern France. It shows similarities to the manuscript painting of [[Pol de Limbourg]], but like the other surviving portrait of Richard, in Westminster Abbey, is also closely related in themes to paintings made in [[Prague]] for Anne's father [[Charles IV, Holy Roman Emperor]] and her brother [[Wenceslas, King of the Romans]].<ref>Levey (1971):22-31</ref>

==Provenance==
The painting was first documented in 1649 in an inventory of the art collection of [[Charles I of England|Charles I]]. It passed to the [[Earl of Pembroke|Earls of Pembroke]] who kept it at [[Wilton House]], from which it takes its name, until it was bought by the National Gallery in [[1929]]. That it remained intact is remarkable because little religious pictorial art survived the Puritan [[iconoclasm]] that followed the execution of Charles I.


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{1911}}


== ดูเพิ่ม ==
== บรรณานุกรม ==
* [[ป้อมดาว]]
* Germ, Martin, "Les onze anges du Diptyque Wilton et le symbolisme médiéval des nombres", Revue de l'Art, 140/2003-2, pp. 13-17
* Langmuir, Erica, ''The National Gallery companion guide'', 1997 revised edition, National Gallery, London, ISBN 185709218X
* "Levey (1971)": [[Michael Levey]], ''Painting at Court'', Weidenfeld and Nicholson, London, 1971
* "Levey (1987)": [[Michael Levey|Levey, Michael]], ''The National Gallery Collection'', 1987, National Gallery Publications, ISBN 0947645349
*[[Pamela Tudor-Craig]], in: Jonathan Alexander & Paul Binski (eds), ''Age of Chivalry, Art in Plantagenet England, 1200-1400'', Royal Academy/Weidenfeld & Nicholson, London 1987

==ดูเพิ่ม==
* [[eee]]
* [[ศิลปะบาโรก|บาโรก]]
* [[ภาพเหมือนผู้อุทิศ]]
* [[ศิลปะกอธิคนานาชาติ]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commonscat-inline|The Wilton Diptych|ฉากแท่นบูชาวิลทัน}}
{{Commonscat-inline|Fortification|ระบบป้อมปราการ}}
*[http://www.fort4a.harc.pl Fort 4a in Poznan - Poland]
*[http://www.nationalgallery.org.uk/cgi-bin/WebObjects.dll/CollectionPublisher.woa/wa/work?workNumber=NG4451 The Wilton Diptych on the National Gallery website]
*[http://www.1911encyclopedia.org/Fortification_and_siegecraft 1911 Encyclopedia Britannica on Fortifications and siegecraft]
*[http://www.bbc.co.uk/bbcfour/paintingflowers/zoom/wilton_diptych/img.shtml?2_4x1 Zoomable image] BBC
*[http://www.fortmifflin.us Fort Mifflin: Active American Revolution to Korean War, Philadelphia, Pennsylvania, USA]
<!--
*[http://www.tunnelrats.org.au Information on Australian World War 2 Fortifications]
{{จิตรกรรมตะวันตก}}
*[http://www.educ.um.edu.mt/militarymalta A Military History of Malta (Fortifications)]
{{เรียงลำดับ|ฉากแท่นบูชาวิลทัน}}
*[http://www.ag-festung-koeln.de/ Fortress Cologne]
[[หมวดหมู่:eee]]
*[http://www.bunkerpictures.nl Bunker Pictures: Pictures, locations, information about bunkers from WW2 and The Atlantikwall]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 13950]]
*[http://www.remuseum.org.uk/rem_his_history.htm Royal Engineers Museum] Coastal Defence
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 13990]]
*[http://www.civertan.hu/legifoto/legifoto.php?page_level=322 Aerial photography: Fortress - Komárom - Hungary]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมยุคบาโรก]]
* [http://www.peterwardein.com Petrovaradin - Greatest XVIII century fortress in Europe]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมสีน้ำมัน]]
*[http://www.eastbournemuseums.co.uk/ Redoubt Fortress Museum]
[[หมวดหมู่:บานพับภาพ]]
*[http://www.martello-towers.co.uk/south-coast/towers/eastbourne-redoubt.htm Eastbourne Redoubt]
[[หมวดหมู่:แท่นบูชา]]
*[http://www.flickr.com/photos/89297978@N00/sets/72157594515487122/ Photos of Austrian, French and English castles]
[[หมวดหมู่:ภาพชีวิตประจำวัน]]
*[http://www.nortfort.ru/spb/index_e.html Photos and History of the Peter and Paul (St Petersburg) Fortress]
[[หมวดหมู่:งานสะสมของหอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน]]
* [http://mysite.verizon.net/vzev1mpx/maginotlineatwar/ Maginot Line at War]

*[http://www.allworldwars.com/German%20Field%20Fortifications%20on%20the%20Eastern%20Front.html German World War II Field Fortifications on the Eastern Front, Album of Drawings]
[[en:Wilton Diptych]]
* [http://www.fortifications.gr WW2 Fortifications in Greece]

* [http://www.fort.ch/flashsite.html 20th century Fortifications in Switzerland]
[[หมวดหมู่: จิตรกรรมแบ่งตามคริสต์ทศวรรษ]]
* [http://www.fsgfort.com/ Fortress Study Group]
{{เรียงลำดับ|mmm}}
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวggg]]
[[หมวดหมู่:ภาพเขียนโดยจิตรกร]]
[[หมวดหมู่:หมวดหมู่ตั้งตามชื่อศิลปิน]]

[[cs:Wiltonský diptych]]
[[de:Wilton-Diptychon]]
[[en:Category:xxx paintings]]
[[es:Díptico de Wilton]]
[[fr:Diptyque de Wilton]]
[[it:Dittico Wilton]]
[[ja:ウィルトンの二連祭壇画]]
[[pl:Dyptyk Wiltona]]
[[fi:Wiltonin diptyykki]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:22, 7 กุมภาพันธ์ 2553

บทความย่อย: Blank; Blank; Blank; Arms; 100 Best Novels; Blank; ปากนรกภูมิ; Instructions; Medieval art; San Miniato;
กะบะทราย : Sutton Hoo; วิลักษณ์; Valencia

{{สั้นมาก}} {{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=bbb |เปลี่ยนทาง=}} {{ระวังสับสน|bbb}} {{บทความหลัก|xxx}} {{ชื่ออื่น|หัวข้อ|หัวข้ออื่น|บทความ}} {{ใช้ปีคศ|width=290px}} ({{lang-en|aaa}}) {{รายการอ้างอิง}} ในปี ค.ศ. ในปี [[ค.ศ. ]] “XX” “[[XX|XX]]” “''[[XX|XX]]''” |]] () <br>{{spaces|4}} <ref>[]</ref> | etitle=<small>XX</small> Add Thai interwiki '''([http://www.forvo.com/word/aaa#en ออกเสียง])''' [[:Image:aaa.jpg|“aaa”]] “''[[oo|oo]]''”({{lang-th|“''oo''”}}) <!--xx-->
ฝรั่งเศส, ศิลปะ, สถาปัตย, จิตรกรรม, Misc
To be considered: Ötzi the Iceman; Allegory in the Middle Ages; เงื่อนเคลติค (Celtic knot); Heraldic knot; Medieval art; พระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน; Silk Road transmission of art;


อาชญากรลักษณ์, Eugenics; Arabesque The Men Who Stare at Goats (film); Pier Francesco Mazzucchelli; Melozzo da Forlì; Santa Maria in Trastevere; Funerary art

Great Wall of China เป็น “ระบบป้อมปราการ” ชนิดหนึ่ง

ระบบป้อมปราการ (อังกฤษ: Fortification (ออกเสียง)) คือสิ่งก่อสร้างทางยุทธศาสตร์หรือตึกที่ออกแบบเพื่อการป้องกันตนเองในยามสงครามหรือใช้เป็นที่มั่น การสร้างระบบป้อมปราการเป็นการก่อสร้างที่เริ่มทำกันมาเป็นเวลาหลายพันปีในรูปแบบที่เริ่มตั้งแต่เพียงโครงสร้างง่ายๆ มาจนเป็นระบบที่สลับซับซ้อน เช่นในการสร้างป้อมดาวในยุคกลาง

ในภาษาอังกฤษ “Fortification” แผลงมาจากภาษาลาติน “Fortis” ที่แปลว่า “แข็งแรง” และคำว่า “Facere” ที่แปลว่า “สร้าง”

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

Public Domain บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. {{cite encyclopedia}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ระบบป้อมปราการ