จังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดภูเก็ตในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ75.61%
  First party Second party
 
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady Steady
คะแนนเสียง 121,915 24,250
% 72.38 14.40

ผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

บรรยากาศการเลือกตั้ง[แก้]

นายดิสัน แหล่ทองคำ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต กล่าวว่า องค์การบริหารภาค กศ.บป. ,ภาคปกติ ร่วมกับโปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ และพัฒนาชุมชน คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้จัดทำโครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ตขึ้น โดยเชิญผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎณ และตัวแทนพรรคการเมือง ได้มาแนะนำตัว และนำเสนอนโยบายของพรรคเพื่อให้นักศึกษา ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้รับฟังและแสดงข้อคิดเห็นแก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง รวมทั้งนักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 เป็นครั้งแรกด้วย[2]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดภูเก็ต)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 121,915 72.38% ลดลง10.96%
เพื่อไทย 24,250 14.40% เพิ่มขึ้น4.58%
อื่น ๆ 22,271 13.22% เพิ่มขึ้น6.38%
ผลรวม 168,436 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
72.38%
เพื่อไทย
  
14.40%
อื่น ๆ
  
13.22%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 55,281 73.89% 12,738 17.03% 6,794 9.08% 74,813 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 66,634 71.17% 11,512 12.30% 15,477 16.53% 93,623 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 121,915 72.38% 24,250 14.40% 22,271 13.22% 168,436 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดภูเก็ต)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 2 105,506 66.32% 2 Steady 100.00%
ภูมิใจไทย 1 28,252 17.76% 0 Steady 0.00%
เพื่อไทย 2 24,779 15.58% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 2 557 0.35% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 7 159,094 100.00% 2 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
66.32%
ภูมิใจไทย
  
17.76%
เพื่อไทย
  
15.58%
อื่น ๆ
  
0.35%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 52,921 75.55% 16,573 23.66% 557 0.79% 70,051 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 52,585 59.06% 28,252 31.73% 8,206 9.22% 89,043 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 105,506 66.32% 28,252 17.76% 24,779 15.58% 557 0.35% 159,094 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดภูเก็ต
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 24,250 14.40
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 212 0.13
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 1,094 0.65
ประชากรไทย (4) 138 0.08
รักประเทศไทย (5) 7,425 4.41
พลังชล (6) 97 0.06
ประชาธรรม (7) 66 0.04
ดำรงไทย (8) 24 0.01
พลังมวลชน (9) 207 0.12
ประชาธิปัตย์ (10) 121,915 72.38
ไทยพอเพียง (11) 150 0.09
รักษ์สันติ (12) 821 0.49
ไทยเป็นสุข (13) 21 0.01
กิจสังคม (14) 194 0.12
ไทยเป็นไท (15) 113 0.07
ภูมิใจไทย (16) 6,938 4.12
แทนคุณแผ่นดิน (17) 1,042 0.62
เพื่อฟ้าดิน (18) 38 0.02
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 28 0.02
การเมืองใหม่ (20) 318 0.19
ชาติไทยพัฒนา (21) 338 0.20
เสรีนิยม (22) 27 0.02
ชาติสามัคคี (23) 33 0.02
บำรุงเมือง (24) 27 0.02
กสิกรไทย (25) 45 0.03
มาตุภูมิ (26) 1,825 1.08
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 14 0.01
พลังสังคมไทย (28) 10 0.01
เพื่อประชาชนไทย (29) 38 0.02
มหาชน (30) 571 0.34
ประชาชนชาวไทย (31) 28 0.02
รักแผ่นดิน (32) 23 0.01
ประชาสันติ (33) 27 0.02
ความหวังใหม่ (34) 22 0.01
อาสามาตุภูมิ (35) 41 0.02
พลังคนกีฬา (36) 172 0.10
พลังชาวนาไทย (37) 27 0.02
ไทยสร้างสรรค์ (38) 2 0.00
เพื่อนเกษตรไทย (39) 22 0.01
มหารัฐพัฒนา (40) 53 0.03
บัตรดี 168,436 91.20
บัตรเสีย 5,482 2.97
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,759 5.83
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 184,677 75.61
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 244,263 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองภูเก็ต (ยกเว้นตำบลรัษฎา และตำบลเกาะแก้ว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดภูเก็ต
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อัญชลี เทพบุตร (10)✔ 52,921 75.55
เพื่อไทย วิสิษฐ์ ใจอาจ (1) 16,573 23.66
แทนคุณแผ่นดิน วีรศักดิ์ วรเนติวงศ์ (17) 281 0.40
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน จตุพงศ์ เลิศศิลป์จิรดา (2) 276 0.39
ผลรวม 70,051 100.00
บัตรดี 70,051 85.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,845 9.58
บัตรเสีย 3,965 4.84
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 81,861 74.26
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 110,236 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอกะทู้ อำเภอถลาง และอำเภอเมืองภูเก็ต (เฉพาะตำบลรัษฎาและตำบลเกาะแก้ว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดภูเก็ต
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เรวัต อารีรอบ (10)* 52,585 59.06
ภูมิใจไทย จิรายุส ทรงยศ (16) 28,252 31.73
เพื่อไทย สมาน เก็บทรัพย์ (1) 8,206 9.22
ผลรวม 89,043 100.00
บัตรดี 89,043 86.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,545 8.31
บัตรเสีย 5,228 5.08
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 102,816 76.71
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 134,027 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. บรรยากาศการเลือกตั้ง ภูเก็ต[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]