จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ71.23%
  First party Second party Third party
 
ภาพถ่ายเบื้องหลัง การบันทึกเทป โครงการ ไทยเข้มแข็ง (The Official Site of The Prim - Flickr - Abhisit Vejjajiva (44).jpg
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
Wannarat channukul.jpg
พรรค ภูมิใจไทย เพื่อไทย ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
ที่นั่งก่อนหน้า 8 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 7 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 1 เพิ่มขึ้น 2 ลดลง 1
คะแนนเสียง 226,741 329,568 13,930
% 30.91 44.92 1.90

ผลการเลือกตั้ง ส.ส แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 9 เขตเลือกตั้ง[1] ซึ่งลดลงจากการเลือกตั้งครั้งก่อน 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ภูมิใจไทย 226,741 30.91% เพิ่มขึ้น27.84%
เพื่อไทย 329,568 44.92% ลดลง4.53%
ประชาธิปัตย์ 116,278 15.85% ลดลง9.17%
อื่น ๆ 61,028 8.32% ลดลง14.14%
ผลรวม 733,615 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคภูมิใจไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของพรรคมัชฌิมาธิปไตย
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
ภูมิใจไทย
  
30.91%
เพื่อไทย
  
44.92%
ประชาธิปัตย์
  
15.85%
อื่น ๆ
  
8.32%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ภูมิใจไทย เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 31,835 39.53% 25,183 31.27% 23,514 29.20% 80,532 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 22,638 28.96% 34,800 44.52% 20,726 26.52% 78,164 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 25,298 30.38% 40,326 48.42% 17,661 21.21% 83,285 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 4 36,440 43.04% 32,584 38.49% 15,635 18.47% 84,659 100.00% ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 27,402 35.62% 32,730 42.54% 16,807 21.85% 76,939 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 6 26,565 30.66% 44,482 51.34% 15,591 18.00% 86,638 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 7 17,742 20.85% 52,085 61.22% 15,252 17.93% 85,079 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 8 18,536 23.02% 38,425 47.71% 23,578 29.28% 80,539 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 9 20,285 26.08% 28,953 37.22% 28,542 36.70% 77,780 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 226,741 30.91% 329,568 44.92% 177,306 24.17% 733,615 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดบุรีรัมย์)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ภูมิใจไทย 9 354,009 48.50% 7 ลดลง1 77.78%
เพื่อไทย 9 268,386 36.77% 2 เพิ่มขึ้น2 22.22%
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 2 38,800 5.32% 0 ลดลง1 0.00%
ประชาราช 0 0 ลดลง1 0.00%
อื่น ๆ 10 68,735 9.42% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 38 729,930 100.00% 9 ลดลง1 100.00%
คะแนนเสียง
ภูมิใจไทย
  
48.50%
เพื่อไทย
  
36.77%
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน
  
5.32%
อื่น ๆ
  
9.42%
ที่นั่ง
ภูมิใจไทย
  
77.78%
เพื่อไทย
  
22.22%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ภูมิใจไทย เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 46,778 59.49% 21,599 27.47% 10,261 13.05% 78,638 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 34,651 44.31% 20,450 26.15% 23,097 29.54% 78,198 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 44,182 53.15% 33,234 39.98% 5,705 6.87% 83,121 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 4 51,095 60.63% 22,282 26.44% 4,894 5.81% 84,271 100.00% ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 40,033 52.13% 29,459 38.36% 7,304 9.51% 76,796 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 6 39,815 46.02% 41,777 48.28% 4,933 5.70% 86,525 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 7 32,340 37.83% 46,728 54.66% 6,425 7.52% 85,493 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 8 29,921 37.21% 27,411 34.09% 23,072 28.70% 80,404 100.00% ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง
เขต 9 35,194 46.01% 25,446 33.27% 15,844 20.72% 76,484 100.00% ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 354,009 48.50% 268,386 36.77% 107,535 14.74% 729,930 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 329,568 44.92
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 13,930 1.90
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 2,037 0.28
ประชากรไทย (4) 785 0.11
รักประเทศไทย (5) 11,013 1.50
พลังชล (6) 1,277 0.17
ประชาธรรม (7) 334 0.05
ดำรงไทย (8) 254 0.03
พลังมวลชน (9) 1,086 0.15
ประชาธิปัตย์ (10) 116,278 15.85
ไทยพอเพียง (11) 1,257 0.17
รักษ์สันติ (12) 2,605 0.36
ไทยเป็นสุข (13) 326 0.04
กิจสังคม (14) 709 0.10
ไทยเป็นไท (15) 2,961 0.40
ภูมิใจไทย (16) 226,741 30.91
แทนคุณแผ่นดิน (17) 1,427 0.19
เพื่อฟ้าดิน (18) 449 0.06
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 893 0.12
การเมืองใหม่ (20) 753 0.10
ชาติไทยพัฒนา (21) 7,431 1.01
เสรีนิยม (22) 1,018 0.14
ชาติสามัคคี (23) 225 0.03
บำรุงเมือง (24) 164 0.02
กสิกรไทย (25) 271 0.04
มาตุภูมิ (26) 873 0.12
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 156 0.02
พลังสังคมไทย (28) 119 0.02
เพื่อประชาชนไทย (29) 326 0.04
มหาชน (30) 1,758 0.24
ประชาชนชาวไทย (31) 226 0.03
รักแผ่นดิน (32) 142 0.02
ประชาสันติ (33) 172 0.02
ความหวังใหม่ (34) 245 0.03
อาสามาตุภูมิ (35) 362 0.05
พลังคนกีฬา (36) 4,194 0.57
พลังชาวนาไทย (37) 349 0.05
ไทยสร้างสรรค์ (38) 94 0.01
เพื่อนเกษตรไทย (39) 312 0.04
มหารัฐพัฒนา (40) 495 0.07
บัตรดี 733,615 91.96
บัตรเสีย 49,580 6.21
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,587 1.83
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 797,782 71.23
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,120,068 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (ยกเว้นตำบลสวายจีก ตำบลสองห้อง ตำบลเมืองฝาง และตำบลสะแกโพรง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย สนอง เทพอักษรณรงค์ (16)* 46,778 59.49
เพื่อไทย พันตำรวจโท กิตติฤทธิ์ พูนสวัสดิ์ (1) 21,599 27.47
ประชาธิปัตย์ นภดล อังคสุภณ (10) 10,261 13.05
ผลรวม 78,638 100.00
บัตรดี 78,638 87.98
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,904 5.49
บัตรเสีย 5,839 6.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,381 73.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 122,312 100.00
ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสตึก อำเภอแคนดง (ยกเว้นตำบลสระบัว) อำเภอบ้านด่าน (ยกเว้นตำบลบ้านด่าน) และอำเภอห้วยราช (เฉพาะตำบลเมืองโพธิ์ ตำบลตาเสา และตำบลโคกเหล็ก)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย รังสิกร ทิมาตฤกะ (16)* 34,651 44.31
เพื่อไทย กฤช อุปจันแพงวงศ์ (1) 20,450 26.15
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน สุรศักดิ์ นาคดี (2)✔ 20,126 25.74
ประชาธิปัตย์ ธีรวุฒิ ทับทิมหิน (10) 2,971 3.80
ผลรวม 78,198 100.00
บัตรดี 78,198 92.09
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,165 1.37
บัตรเสีย 5,551 6.54
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 84,914 70.43
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 120,561 100.00
ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอพุทไธสง อำเภอนาโพธิ์ อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอคูเมือง (ยกเว้นตำบลคูเมืองและตำบลพรสำราญ) อำเภอบ้านด่าน (เฉพาะตำบลบ้านด่าน) และอำเภอแคนดง (เฉพาะตำบลสระบัว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย โสภณ ซารัมย์ (16)* 44,182 53.15
เพื่อไทย อาทิตย์ ยุทธเสรี (1) 33,234 39.98
ประชาธิปัตย์ มนูญ มนูขจร (10) 5,447 6.55
กิจสังคม โตเกียว ศรีบาล (14) 158 0.19
ชาติไทยพัฒนา วุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย (21)✔ 100 0.12
ผลรวม 83,121 100.00
บัตรดี 83,121 93.32
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,757 1.97
บัตรเสีย 4,199 4.71
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,077 69.40
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 128,354 100.00
ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอลำปลายมาศ อำเภอคูเมือง (เฉพาะตำบลคูเมือง และตำบลพรสำราญ) อำเภอหนองหงส์ (เฉพาะตำบลไทยสามัคคี และตำบลเมืองฝ้าย) และอำเภอชำนิ (เฉพาะตำบลช่อผกา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย อารีญาภรณ์ ซารัมย์ (16) 51,095 60.63
เพื่อไทย สราวุฒิ แหวนมุกข์ (1) 22,282 26.44
ประชาธิปัตย์ นพรัตน์ ฉิมรัมย์ (10) 4,779 5.67
ชาติไทยพัฒนา ปริวัชร มณีเติม (21) 115 0.14
ผลรวม 84,271 100.00
บัตรดี 84,271 92.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,330 2.56
บัตรเสีย 4,298 4.73
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 90,899 69.98
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 129,896 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอกระสัง อำเภอพลับพลาชัย (ยกเว้นตำบลป่าชัน) อำเภอห้วยราช (ยกเว้นตำบลเมืองโพธิ์ ตำบลตาเสา และตำบลโคกเหล็ก) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสวายจีก)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย มนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ (16)* 40,033 52.13
เพื่อไทย พันตำรวจเอก อุดร ชาญนุวงศ์ (1) 29,459 38.36
ประชาธิปัตย์ สุประดิษฐ์ แสนทวีสุข (10) 6,997 9.11
พลังมวลชน พรพิพัฒน์ หลอมประโคน (9) 257 0.33
ความหวังใหม่ วีรชัช สายดวง (34) 50 0.07
ผลรวม 76,796 100.00
บัตรดี 76,796 89.95
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,931 2.26
บัตรเสีย 6,651 7.79
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 85,378 69.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,348 100.00
ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอนางรอง อำเภอชำนิ (ยกเว้นตำบลช่อผกา) อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (เฉพาะตำบลเจริญสุข) และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (เฉพาะตำบลสะแกโพรง ตำบลสองห้อง และตำบลเมืองฝาง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย พรชัย ศรีสุริยันโยธิน (1)✔ 41,777 48.28
ภูมิใจไทย ไตรเทพ งามกมล (16) 39,815 46.02
ประชาธิปัตย์ นาคินทร์ ปิ่นศิริ (10) 4,836 5.59
พลังคนกีฬา ไตรสิทธิ์ เตียประสิทธิ์ (36) 67 0.08
ความหวังใหม่ ชัยพิบูล ไชยชาติ (34) 30 0.03
ผลรวม 86,525 100.00
บัตรดี 86,525 91.77
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,688 2.85
บัตรเสีย 5,072 5.38
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 94,285 74.93
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,831 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอหนองกี่ อำเภอปะคำ อำเภอโนนสุวรรณ และอำเภอหนองหงส์ (ยกเว้นตำบลไทยสามัคคี และตำบลเมืองฝ้าย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย หนูแดง วรรณกางซ้าย (1) 46,728 54.66
ภูมิใจไทย ประกิจ พลเดช (16)✔ 32,340 37.83
ประชาธิปัตย์ ภุชงค์ เลาหศิริวงศ์ (10) 6,425 7.52
ผลรวม 85,493 100.00
บัตรดี 85,493 92.72
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,078 2.25
บัตรเสีย 4,642 5.03
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,213 74.05
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 124,530 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอบ้านกรวด อำเภอโนนดินแดง และอำเภอละหานทราย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย รุ่งโรจน์ ทองศรี (16)✔ 29,921 37.21
เพื่อไทย ขจรธน จุดโต (1)✔ 27,411 34.09
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน สมนึก เฮงวาณิชย์ (2)* 18,674 23.23
ประชาธิปัตย์ สันติ โรจน์สุกิจ (10) 4,343 5.40
ประชาธรรม เดช แผนกระโทก (7) 55 0.07
ผลรวม 80,404 100.00
บัตรดี 80,404 92.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,449 1.66
บัตรเสีย 5,313 6.10
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 87,166 71.35
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 122,160 100.00
ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 9[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอประโคนชัย อำเภอพลับพลาชัย (เฉพาะตำบลป่าชัน) และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ยกเว้นตำบลเจริญสุข)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย จักรกฤษณ์ ทองศรี (16)* 35,194 46.01
เพื่อไทย จำรัส เวียงสงค์ (1)✔️ 25,446 33.27
ประชาธิปัตย์ ภูมิสิทธิ์ มาประจง (10) 15,717 20.55
ความหวังใหม่ อธิวัฒน์ บุญชาติ (34) 127 0.17
ผลรวม 76,484 100.00
บัตรดี 76,484 90.55
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,234 2.64
บัตรเสีย 5,751 6.81
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 84,469 68.93
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,076 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาราช

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]