โพรโทพีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โพรโทพีน[1]
ชื่อ
IUPAC name
7-Methyl-6,8,9,16-tetrahydrobis[1,3]benzodioxolo[4,5-c:5',6'-g]azecin-15(7H)-one
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEMBL
ECHA InfoCard 100.004.546 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • c15cc3OCOc3cc5CCN(C)Cc2c(CC1=O)ccc4c2OCO4
คุณสมบัติ
C20H19NO5
มวลโมเลกุล 353.369 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ผลึกสีขาว
ความหนาแน่น 1.399 g/cm3
จุดหลอมเหลว 208 °C
ในทางปฏิบัติถือว่าไม่ละลายน้ำ
ความสามารถละลายได้ ใน คลอโรฟอร์ม 1:15
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โพรโทพีน (Protopine) เป็นอัลคาลอยด์ชนิด benzylisoquinoline พบในต้นฝิ่น,[2] หัวของพืชสกุล Corydalis[3] และพืชชนิดอื่นในวงศ์ papaveraceae เช่น Fumaria officinalis[4] สารนี้สามารถยับยั้งตัวรับhistamine H1 และการตกตะกอนของเกล็ดเลือด และออกฤทธิ์เป็นยาแก้ปวด [5][6]


อ้างอิง[แก้]

  1. The Merck Index (9 ed.). New Jersey: Merck & Co. 1976. p. 1023.
  2. The Free Dictionary: Protopine
  3. Jiang, B; Cao, K; Wang, R (2004). "Inhibitory effect of protopine on K(ATP) channel subunits expressed in HEK-293 cells". European Journal of Pharmacology. 506 (2): 93–100. doi:10.1016/j.ejphar.2004.11.004. PMID 15588728.
  4. แม่แบบ:Pmid
  5. Saeed, SA; Gilani, AH; Majoo, RU; Shah, BH (1997). "Anti-thrombotic and anti-inflammatory activities of protopine". Pharmacological research : the official journal of the Italian Pharmacological Society. 36 (1): 1–7. doi:10.1006/phrs.1997.0195. PMID 9368908.
  6. Protopine ในหอสมุดแพทยศาสตร์แห่งชาติอเมริกัน สำหรับหัวข้อเนื้อหาทางการแพทย์ (MeSH)