สายเซกิโช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก สายเซะกิโช)
สายเซกิโช
石勝線
คิฮะ ซีรีส์ 283 DMU ซูเปอร์ โอกูโตะ ขณะผ่าน ทางแยกคามิโอชิไอ
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของJR ฮกไกโด
ปลายทาง
จำนวนสถานี15 สถานี (เฉพาะสถานีโดยสาร)
การดำเนินงาน
รูปแบบระบบขนส่งขนาดกลาง
ผู้ดำเนินงานJR ฮกไกโด
ประวัติ
เปิดเมื่อพ.ศ. 2435
ข้อมูลทางเทคนิค
ความยาวทางวิ่งสายหลัก: 132.4 กิโลเมตร
สายย่อย: 16.1 กิโลเมตร
รางกว้าง1,067 มม. (3 ฟุต 6 นิ้ว)
ระบบจ่ายไฟ20,000V・50Hz
ความเร็ว130 กิโลเมตร/ชั่วโมง
แผนที่เส้นทาง

รถไฟฮกไกโดสายเซกิโช (ญี่ปุ่น: 石勝線โรมาจิSekishō-sen) เป็นเส้นทางรถไฟสายระหว่างเมืองในฮกไกโด ระหว่างสถานีมินามิชิโตเซะ ในนครชิโตเซะ กิ่งจังหวัดอิชิการิ ถึงสถานีชินโตกุ ในเมืองชินโตกุ กิ่งจังหวัดคามิกาวะ ดำเนินการโดย JR ฮกไกโด

สถานี[แก้]

สถานีชิมูกัปปุท่ามกลางหิมะ
สถานี หลักทางรถไฟ เชื่อมต่อกับ ที่ตั้ง
สายเซกิโช (สายหลัก)
H14 มินามิชิโตเซะ 南千歳 กม. 0.0 สายชิโตเซะ ( สายหลัก,  สายย่อยชินชิโตเซะ) ชิโตเซะ
จุดหลีกรถไฟโคมาซาโตะ 駒里 (信) กม. 5.4
จุดหลีกรถไฟนิชิฮิยากิตะ 西早来 (信) กม. 11.7 อาบิระ
K15 โออิวาเกะ 追分 กม. 17.6 สายหลักมูโรรัง
K16 ฮิงาชิโออิวาเกะ 東追分 กม. 21.6
K17 คาวาบาตะ 川端 กม. 27.0 ยูนิ
จุดหลีกรถไฟทากิโนะชิตะ 滝ノ下 (信) กม. 30.3 คูริยามะ
K18 ทากิโนะอูเอะ 滝ノ上 กม. 35.8 ยูบาริ
K19 โทมิซาโตะ 十三里 กม. 40.2
K20 ชินยูบาริ 新夕張 กม. 43.0  สายเซกิโช (สายย่อยยูบาริ)
จุดหลีกรถไฟคาเอเดะ 楓 (信) กม. 48.7
จุดหลีกรถไฟโอซาวะ オサワ (信) กม. 55.7 มูกาวะ
จุดหลีกรถไฟฮิงาชิโอซาวะ 東オサワ (信) กม. 59.6
จุดหลีกรถไฟเซฟูซัง 清風山 (信) กม. 67.3 ชิมุกัปปุ
K21 ชิมูกัปปุ 占冠 กม. 77.3
จุดหลีกรถไฟฮิงาชิชิมูกัปปุ 東占冠 (信) กม. 81.3
จุดหลีกสัญญาณรถไฟทากิโนะซาวะ 滝ノ沢 (信) กม. 85.7
จุดหลีกรถไฟโฮโรกะ ホロカ (信) กม. 92.6
K22 โทมามุ トマム กม. 98.6
จุดหลีกรถไฟคูชิไน 串内 (信) กม. 104.2 มินามิฟูราโนะ
ทางแยกคามิโอะชิไอ 上落合 (信) กม. 108.3
จุดหลีกรถไฟชิงการิกาจิ 新狩勝 (信) กม. 113.9 ชินโตกุ
จุดหลีกรถไฟฮิโรอูจิ 広内 (信) กม. 120.1
จุดหลีกรถไฟนิชิชินโตกุ 西新得 (信) กม. 125.6
K23 ชินโตกุ 新得 132.4  สายหลักเนมูโระ
สายย่อยยูบาริ
K20 ชินยูบาริ 新夕張 กม. 0.0  สายเซกิโช (สายหลัก) ยูบาริ
Y21 นูมะโนะซาวะ 沼ノ沢 กม. 2.7
Y22 มินามิชิมิซูซาวะ 南清水沢 กม. 6.7
Y23 ชิมิซูซาวะ 清水沢 กม. 8.2
Y24 ชิกะโนะตานิ 鹿ノ谷 กม. 14.8
Y25 ยูบาริ 夕張 กม. 16.1

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]