สงครามในประเทศซูดาน พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามในซูดาน ปี 2023
ส่วนหนึ่งของ บรรดาสงครามกลางเมืองซูดาน

สถานการณ์ทางการทหาร ข้อมูลเมื่อ 27 เมษายน
   ควบคุมโดยกองกำลังติดอาวุธซูดาน
   ควบคุมโดยกองกำลังสนับสนุนไว
   ควบคุมโดย SPLM-N (อัลฮิลู)
   ควบคุมโดย SLM (อัลนูร์)
(แผนที่โดยละเอียด)
วันที่15 เมษายน ค.ศ. 2023 – ข้อผิดพลาด: เวลาไม่ถูกต้อง (2023-04-15 – ข้อผิดพลาด: เวลาไม่ถูกต้อง)
(1 ปี 1 สัปดาห์ 5 วัน)
สถานที่
สถานะ ดำเนินอยู่
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
คู่สงคราม
กองกำลังติดอาวุธซูดาน
ขบวนการปลดแอกซูดาน (ส่วน Tambour)[1]
กองกำลังสนับสนุนไว
SPLM-N (ส่วน อัลฮิลู)[2][3] (มิถุนายน 2023–ปัจจุบัน)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
อาบเดล ฟัตตะฮ์ อัลบูรฮาน
มุสตาฟา ตามบัวร์
เฮเมดตี
อาบเดลาซีซ อัลฮิลู[2][3]
กำลัง
110,000–120,000[6]
ไม่ทราบ
70,000–150,000[6]
ไม่ทราบ
ความสูญเสีย
3,000–10,000 เสียชีวิต, 6,000–8,000 บาดเจ็บ[7][8][9]
3.02 ล้าน ลี้ภัยในประเทศ[10]
926,000 อพยพลี้ภัย[10]

สงครามโดยกลุ่มติดอาวุธระหว่างกองกำลังติดอาวุธซูดาน (SAF) และกองกำลังกึ่งกองทัพ กองกำลังสนับสนุนไว (RSF) ซึ่งเป็นหน่วยคู่แข่งสองหน่วยในรัฐบาลทหารของประเทศซูดาน เริ่มต้นขึ้นเมื่อ 15 เมษายน 2023 โดยมีการต่อสู้อยู่หนาแน่นในเมืองหลวงคาร์ทูมและในภูมิภาคดาร์ฟูร์ ต่อมาส่วนหนึ่งของกองทัพ ขบวนการปลดแอกประชาชนซูดานภาคเหนือ (SPLM-N) นำโดย อาบเดลาซีซ อัลฮิลู ยังต่อสู้กับ SAF ในภูมิภาคพรมแดนกับซูดานใต้ และ เอธิโอเปีย[2][3] ข้อมูลเมื่อ 22 กรกฎาคม 2023 มีจำนวนผู้เสียชีวิตแล้วราว 3,000 ถึง 10,000 รายที่ถูกฆาตกรรมในความขัดแย้งนี้ แบะบาดเจ็บราว 6,000 ถึง 8,000[7][9][8] ส่วนข้อมูลเมื่อ 18 กรกฎาคม 2023 ระบุจำนวนผู้อพยพภายในประเทศอยู่ที่ 2.6 ล้าน และอีก 730,000 ลี้ภัยออกนอกประเทศ[10]

สงครามเริ่มต้นจาก RSF โจมตีสถานที่รัฐบาลด้วยการโจมตีผ่านอากาศยานไร้คนขับ, ระเบิด และปืน มีรายงานอยู่ในทั่วประเทศซูดาน ตลอดสงคราม ผู้นำของ RSF โมฮาเมด ฮามดาน "เฮเมดตี" ดากาโล และผู้นำโดยพฤตินัยของซูดาน ผู้นำทหาร อาบเดล ฟัตตะฮ์ อัลบูร์ฮาน ได้มีข้อขัดแย้งในการควบคุมสถานที่ราชการกัน ซึ่งรวมถึงที่ทำการใหญ่ของกองทัพซูดาน, วังประธานาธิบดี, สนามบินคาร์ทูม, ที่อยู่อาศัยทางการของบูร์ฮาน และที่ทำการใหญ่ของสถานีโทรทัศน์ SNBC ในเดือนมิถุนายนเป็นต้นมา SPLM-N (อัลฮิลู) ได้โจมตีตำแหน่งการทหารในทางใต้ของประเทศ[2][3] เมื่อ 31 กรกฎาคม ส่วนของขบวนการปลดแอกซูดาน นำโดย มุสตาฟา ตามบัวร์ (SLM-T) ยืนยันตัวตนว่ามีส่วนในข้อขัดแย้งนี้จริง โดยจะสนับสนุน SAF ในดาร์ฟูร์[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "SLM faction joins Sudanese army against RSF in Darfur". Sudan Tribune (ภาษาอังกฤษ). 1 August 2023. สืบค้นเมื่อ 2 August 2023.[ลิงก์เสีย]
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "South Kordofan residents flee as Sudan war escalates". al-Arabiya (ภาษาอังกฤษ). 2023-06-23. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 June 2023. สืบค้นเมื่อ 2023-06-23.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ reserve
  4. Sudan: Deadly Sudan Army-RSF Clashes Spark Human Tragedy, Widespread Looting in Darfur เก็บถาวร 19 เมษายน 2023 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 17 April 2023
  5. Salih, Zeinab (April 16, 2023). "Sudan fighting rages for second day despite UN-proposed ceasefire". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 16, 2023.
  6. 6.0 6.1 "Sudan: Stalemates rule out one-man victory". DW. 19 April 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 April 2023. สืบค้นเมื่อ 19 April 2023.
  7. 7.0 7.1 "More than 3,000 people killed, 6,000 injured in Sudan conflict". The Jerusalem Post. 17 June 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 June 2023. สืบค้นเมื่อ 20 June 2023.
  8. 8.0 8.1 "10,000 reported killed in one West Darfur city, as ethnic violence ravages Sudanese region". CNN. 26 July 2023. สืบค้นเมื่อ 27 July 2023.
  9. 9.0 9.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ dabanga5k
  10. 10.0 10.1 10.2 "Sudan conflict displaces nearly four million: UN migration agency". 2 August 2023. สืบค้นเมื่อ 3 August 2023.[ลิงก์เสีย]