มหายานศตธรรมประกาศมุขศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มหายานศตธรรมประกาศมุขศาสตร์ (จีน: 大乘百法明門論) เป็นบทนิพนธ์ของพระวสุพันธุ อาจารย์แห่งนิกายโยคาจาร ว่าด้วยลักษณะธรรมทั้ง 100 ประเภท มีลักษณะคล้ายกับบทมาติกาของอภิธรรมฝ่ายเถรวาท และยังเป็นการจัดข้อธรรมเป็นหมวด ๆ เพื่อชี้ให้เห็นถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่ประกอบกันเข้าเป็นลักษณะธรรม เริ่มจากจิตไปจบลงที่ตถตา หรือความเป็นเช่นนั้น หรือพุทธภาวะ

เนื้อหา[แก้]

มหายานศตธรรมประกาศมุขศาสตร์ มีเนื้อหาสั้นกระชับ แบ่งข้อธรรมเป็นหมวดหลัก และหมวดย่อย เนื้อความทั้งหมด มีดังนี้ (ตามฉบับที่แปลโดยพระเสวียนจั้ง หรือพระถังซำจั๋ง)

มหายานศตธรรมประกาศมุขศาสตร์ (大乘百法明門論)

ดังที่สมเด็จพระภควันตรัสไว้ดังว่า。 สรรพธรรมเป็นอนัตตา。 สรรพธรรมนั้นเป็นไฉน。 เหตุใดจึงเป็นอนัตตา。สรรพธรรมทั้งหลาย。ย่อสังเขปได้เป็น ๕ มูลฐาน。

๑. จิตฺตธรรมะ

๒.ไจตสิกธรรมะ

๓. รูปธรรมะ

๔. จิตตวิประยุกตสังสการธรรมะ

๕. อสังสกฤตธรรมะห์

ข้อหนึ่งเป็นยอดทั้งหมด。 ข้อต่อมาประสานข้อก่อนนั้น。 ลำดับสองเป็นเงาข้อก่อนหน้า。ลำดับสามแยกมาจากก่อนหน้านั้น。 สี่ปรากฏขึ้นมาด้วยข้ออื่นทั้งหมด。เป็นลำดับดังนี้。

๑. จิตฺตธรรมะ ย่อสังเขปได้เป็น ๘ มูลฐาน。

๑.๑ จักษุรวิชญาณ

๑.๒ ศโรตรวิชญาณ

๑.๓ ฆราณวิชญาณ

๑.๔ ชิหวาวิชญาณ

๑.๕ กายะวิชญาณ

๑.๖ มโนวิชญาณ

๑.๗ มนัส

๑.๘ อาลัยวิชญาณ

๒.ไจตสิกธรรมะ ย่อสังเขปได้เป็น ๕๑ มูลฐาน。 แบ่งออกเป็น ๖ หมวด

๒.๑. สรวตรัค ๕

๒.๒. วินิยัต ๕

๒.๓. กุศล ๑๑

๒.๔. กเลศ ๖

๒.๕. อุปกเลศ ๒๐

๒.๖. อนิยัต ๔

สรวตรัค ๕ ประกอบด้วย

๒.๑.๑ มนัสการ

๒.๑.๒ สปรัษฏะ

๒.๑.๓ เวทนา

๒.๑.๔ สังชญา

๒.๑.๕ เจตนา

วินิยัต ๕ ประกอบด้วย

๒.๒.๑ ฉันทะ

๒.๒.๒ อธิโมกษะ

๒.๒.๓ สมฤติ

๒.๒.๔ สมาธิ

๒.๒.๕ ปรัชญา

กุศล ๑๑ ประกอบด้วย

๒.๓.๑ ศรัทธา

๒.๓.๒ วีรยะ

๒.๓.๓ หรี

๒.๓.๔ อปตราปฺยะ

๒.๓.๕ อโลภะ

๒.๓.๖ อทเวษะ

๒.๓.๗ อโมหะ

๒.๓.๘ ประศรัพธิ

๒.๓.๙ อประมาท

๒.๓.๑๐ อุเปกษะ

๒.๓.๑๑ อหิงสา

กเลศ ๖ ประกอบด้วย

๒.๔.๑ ราคะ

๒.๔.๒ ประติฆะ

๒.๔.๓ มูฒิ

๒.๔.๔ มานะ

๒.๔.๕ วิจิกิตสา

๒.๔.๖ ทฤษฏิ

อุปกเลศ ๒๐ ประกอบด้วย

๒.๔.๑ โกรธะ

๒.๔.๒ อุปนาหะ

๒.๔.๓ ประทาสะ

๒.๔.๔ มรักษะ

๒.๔.๕ มายา

๒.๔.๖ ศาฐัย

๒.๔.๗ มทะ

๒.๔.๘ วิหิงสา

๒.๔.๙ อีรัษยา

๒.๔.๑๐ มาตสรยะ

๒.๔.๑๑ อาหรีกฺยะ

๒.๔.๑๒ อนปตราปฺยะ

๒.๔.๑๓ อศรัทธยะ

๒.๔.๑๔ เกาศีทยะ

๒.๔.๑๕ ประมาทะ

๒.๔.๑๖ สฺตยานะ

๒.๔.๑๗ เอาทฺธตยะ

๒.๔.๑๘ มุษิตสมฤติตา

๒.๔.๑๙ อสังปรชันยะ

๒.๔.๒๐ วิกฺเษปะ

อนิยัต ๔ ประกอบด้วย

๒.๔.๑ มิทธะ

๒.๔.๒ เกากฤตยะ

๒.๔.๓ วิตรกะ

๒.๔.๔ วิจาระ

๓. รูปธรรมะ ย่อสังเขปได้เป็น ๑๑ มูลฐาน。

๓.๑ จักษุส

๓.๒ ศโรตะ

๓.๓ ฆราณะ

๓.๔ ชิหวา

๓.๕ กายะ

๓.๖ รูปะ

๓.๗ ศัพทะ

๓.๘ คันธะ

๓.๙ ระสะ

๓.๑๐ สปรัษฏวยะ

๓.๑๑ ธรรมายตนิกานิ รูปานิ

๔. จิตตวิประยุกตสังสการธรรมะ ย่อสังเขปได้เป็น ๒๔ มูลฐาน。

๔.๑ ปราปติ

๔.๒ ชีวิเตนทริยะ

๔.๓ นิกายะสภาคะ

๔.๔ วิสภาคะ

๔.๕ อสังชญิสมาปัตติ

๔.๖ นิโรธสมาปัตติ

๔.๗ อาสังชญิกะ

๔.๘ นามกายะ

๔.๙ ปทกายะ

๔.๑๐ วยัญชนะกาย

๔.๑๑ ชาติ

๔.๑๒ สถิติ

๔.๑๓ ชรา

๔.๑๔ อนิตยตา

๔.๑๕ ประวฤตฺติ

๔.๑๖ ประตินิยม

๔.๑๗ โยคะ

๔.๑๘ ชาวะ

๔.๑๙ อนุกรม

๔.๒๐ กาละ

๔.๒๑ เทศะ

๔.๒๒ สางขยะ

๔.๒๓ สามครี

๔.๒๔ อันยถาตวะ

๕. อสังสกฤตธรรมะห์ ย่อสังเขปได้เป็น ๖ มูลฐาน。

๕.๑ อากาศ

๕.๒ ประติสังขยานิโรธ

๕.๓ อประติสังขยานิโรธ

๕.๔ อานิญชยะ

๕.๕ สังชญาเวทยิตนิโรธ

๕.๖ ตถตา