ฟูไฟเตอส์ (อัลบั้ม)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ฟูไฟเตอร์ส (อัลบั้ม))
ฟูไฟเตอส์
สตูดิโออัลบั้มโดย
วางตลาด4 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 (1995-07-04)
บันทึกเสียงตุลาคม 17–23, 1994
สตูดิโอRobert Lang ซีแอตเทิล
แนวเพลง
ความยาว44:24
ค่ายเพลง
โปรดิวเซอร์
ลำดับอัลบั้มของฟูไฟเตอส์
ฟูไฟเตอส์
(1995)
เดอะคัลเลอร์แอนด์เดอะเชป
(1997)
ซิงเกิลจากฟูไฟเตอส์
  1. "This Is a Call"
    จำหน่าย: 19 มิถุนายน 1995
  2. "I'll Stick Around"
    จำหน่าย: 4 กันยายน 1995
  3. "For All the Cows"
    จำหน่าย: 21 พฤศจิกายน 1995
  4. "Big Me"
    จำหน่าย: 25 กุมภาพันธ์ 1996

ฟูไฟเตอร์ส (อังกฤษ: Foo Fighters) เป็นสตูดิโออัลบั้มเปิดตัว ของวงดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกจากอเมริกัน ฟูไฟเตอร์ส วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 โดยค่ายเพลงแคปิตอลเรเคิดส์เป็นฝ่ายวางจำหน่าย ผ่านทางค่าย รอสเวลเรเคิดส์ของ เดฟ โกรล โกรลแต่งเพลงและบันทึกอัลบั้มชุดนี้ด้วยตัวเอง โดยมีมือกีตาร์รับเชิญในส่วนหนึ่งของอัลบั้ม เกรก ดัลลี มีโปรดิวเซอร์อัลบั้มอย่าง บาเร็ต โจนส์ ที่มาเติมเต็มช่วยเหลืออัลบั้มให้ดียิ่งขึ้น โดยอัดอัลบั้มที่ โรเบิร์ตแลงสตูดิโอในเมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน , ก่อนจะปล่อยอัลบั้มในราวปี 1994 โกรลกล่าวถึงกล่าวอัดอัลบั้มชุดนี้ว่าเขามีจุดประสงค์ทำเล่น ๆ สนุก ๆ โดยเขาอธิบายอย่างกะทะรัดว่า เป็นเหมือนอัลบั้มระบายความเศร้าใจหลังการเสียชีวิตของเพื่อนร่วมวงอย่าง เคริ์ธ โคเบน นักร้องนำจาก เนอร์วานา

หลังจากที่โกรลอัดอัลบั้มเสร็จสิ้น , เขาตัดสินใจใช้ชื่อ "ฟูไฟเดอร์ส" สำหรับโครงการดนตรีโดยเขาใช้เพื่อปิดบังตัวตน และแจกจ่ายเทปคาสเซ็ตของอัลบั้มดังกล่าวในหมู่เพื่อน , หลังจากนั้นเทปดังกล่าวเริ่มเป็นที่ได้รับความสนใจแก่[[ค่ายเพลง]ในหมู่มาก โกรลเซ็นสัญญากับแคปิตอลเรเคิดส์ อัลบั้มดังกล่าวได้รับการโปรโมตผ่านการแสดงสดอย่างกว้างขว้าง และจากผลงานซิงเกิลจำนวนหกซิงเกิล , ประกอบกับวิดิโอเพลงอีกสองเพลง อัลบั้มนี้มีเสียงวิจารณ์ไปเชิงทางบวก โดยคำชื่มชมจากการประพันธ์บทเพลงและการแสดง นอกจากนี้ยังมียอดรายได้ที่ทำให้พวกเขาประสบความสำเร็จ , จนกลายเป็นอัลบั้มที่มียอดขายสูงสุดเป็นลำดับที่สองใน สหรัฐอเมริกา และยังติดชาร์จอันดับที่ห้าใน สหราชอาณาจักร , แคนาดา , ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์

เบื้องหลังอัลบั้ม[แก้]

Dave Grohl sings and plays the guitar atop a stage.
Dave Grohl เขียนและอัดเพลงในวงโดยตัวของเขาเอง.

หลังการเสียชีวิตของ เคิร์ต โคเบน นักร้องนำวงเนอร์วานา ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1994, เดฟ โกรล มือกลองแห่งเนอร์วานา ระบุอาจมาจากภาวะความซึมเศร้า[1], ซึ่งทำให้โกรลไม่มีกระจิตใจในการเล่นดนตรีต่อ [2] ซึ่งเขายังลังเลว่าจะทำอะไรต่อไป ซึ่งเขามีความคิดที่จะล้มเลิกการเล่นดนตรีแล้วด้วยซ้ำ ,อย่างไรก็ตามมีคำเชิญชวนจากวงต่าง ๆ เช่น Danzig และ Tom Petty and The Heartbreakers ในการเข้ามาเป็นมือกลอง, "มันเป็นการเตือนตัวผมว่าผมยังอยู่ในเนอร์วานาเสมอ; ทุกครั้งที่ผมนั่งลงบนกลองชุด ผมจะคิดอยู่แบบนี้เสมอ"[3][4]

การแสดงสดของ เดฟ โกรล เกิดขึ้นจากการเสียชีวิตของเคิร์ต โคเบน แสดงร่วมกับวง The Backbeat Band ในงานประกาศรางวัล 1994 เอ็มทีวีมูฟวี่อะวอร์ด 1994 MTV Movie Awards ในเดือนมิถุนายน , เขาถูกชักชวนโดย ไมค์ วัตต์ เพื่อมาเป็นส่วนหนึ่งกับอัลบั้มของเขา Ball-Hog or Tugboat? หลังจากแสดงคอนเสริ์ตเสร็จแล้ว , เดฟ โกรล มีความคิดที่จะตั้งโครงการดนตรีของเขาขึ้นมาเอง[5] เป็นการระบายความเศร้าหม่นหมอง จากการเสียชีวิตของโคเบน โกรลเปรียบอัลบั้มนี้ว่า "ยาบำบัด" ซึ่งเขาอัดเพลงและแต่งเนื้อเพลงโดยตัวของเขาเอง[4] หลังจากนั้น เดฟ โกรล ได้จองสคูดิโอ Robert Lang Studio ไว้ประมาณหกวัน ซึ่งสตูดิโอดังกล่าวอยู่ใกล้บ้านของเขา , เมื่อเขาได้อัดเพลง "เพลงโปรดของผม ผมเขียนมามันขึ้นเมื่อ 4-5 ปีซึ่งไม่มีใครฟัง" [1] ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากฝ่ายโปรดิวเซอร์ บาเร็ต โจนส์ , เมื่อครั้นที่เขายังส่งเทปเดโม่ไปให้ , "Pocketwatch" ปี 1992 [6] ทำให้เดฟ โกรลมีความคิดในการเล่นดนตรีอีกครั้ง และวางจำหน่ายมันให้ภายใต้ชื่อดังกล่าว แต่ก็ยังมีคนบางกลุ่มบอกว่าวงมีลักษณะคล้ายคลึงกับอัลบั้ม Klark Kent ของสจ๊วต ค็อปแลนด์[2]

การบันทึก[แก้]

"อัลบั้มแรกที่พวกเราได้อัดกัน , จริง ๆ ก็ไม่เชิงว่าอัลบั้ม แต่มันคือการทดลองและเพื่อความสนุก , ผมใช้เวลาเปล่าประโยชน์ , บางส่วนของเนื้อเพลงไม่กล่าวเอ่ยถึงความเป็นจริง ."

 —Dave Grohl กล่าวในปีค.ศ. 2011[7]

Dave Grohl และ Barret Jones อัดเพลงในระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์เต็มในเดือนตุลาคม ปีค.ศ. 1994 , โดย Dave Grohl เล่นเครื่องดนตรีเองทั้งหมด (ไม่ว่าจะเป็นการร้อง กีตาร์ เบส และกลอง) รุ่งเช้าพวกเขาทั้งสองมายังสตูดิโอ Robert Lang Studios , พวกเขาเริ่มอัดเพลงจนกระทั่งบ่ายโมงและอัดไปสี่เพลง[4] ขณะที่เขาอัดเขาต้องเล่นเป็นมือกองและสลับมาเป็นกีตาร์ และไปอัดเพลง , สักพักก็ไปนั่งพักโดยการจิบกาแฟแล้วกลับไปทำเพลงต่อ

โดยการแสดงคอนเสริ์ตได้รับความช่วยเหลือจาก Greg Dull จากวง The Afghan Whigs ในการจัดหาและบริการกีตาร์ X-Static โดยการแสดงคอนเสริ์ตได้รับความช่วยเหลือจาก Greg Dull จากวง The Afghan Whigs ในการเล่นกีตาร์ให้ ซึ่งเป็นคนที่ติดตามการอัดเพลงของ Dave Grohl , ในท้ายที่สุด Dave Grohl ก็ได้ให้เป็นมือกีตาร์ (ซึ่ง Greg Dull ได้เป็นมือกีตาร์ให้ฟูไฟเดอร์สเพียงเพลงเดียว ในเพลง X-Static)[8] โดยแต่ละเพลงนั้นใช้ความยาวประมาณ 45 นาทีจึงจะเสร็จสมบูรณ์ การแต่งเพลงได้ถูกบันทึกไว้ในลำดับเดียวกันถูกกลายมาเป็นลำดับแทร็กและเป็นเพียงเพลงเดียวที่ถูกรั่วไหลก่อนจะเสร็จสมบูรณ์ "I'll Stick Around"[6] Dave Grohl รู้สึกไมปลอดภัยกับการร้องของเขา , และเพิ่มเอฟเฟ็คเสียงลงในเสียงของเขาในเพลง Floatyและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานผ่านแทร็คที่สอง [4]

ในความพยายามที่จะตั้งตัวตนของเขา , Dave Grohl วางแผนปล่อยเพลงภายใต้ชื่อ ฟู ไฟสเตอร์.[5] มันค่อนข้างจะได้ผลรับที่ค่อนข้างแย่สำหรับ 100 ตลับ LP Record ซึ่งถูกกดดันหลังจากการประชุมเสร็จสิ้น [6] Dave Grohl ต้องการที่จะสร้างแล็บเทปคาสเซ็ตที่ซีแอตเทิล ที่จะสร้าง 100 ตลับเทปคาสเซ็ต ได้ทำสำเนาต้นฉบับสำหรับการประชุม และเริ่มส่งให้ถึงมือของเพื่อนเพื่อดูความคิดเห็นและ ผมจะให้แจกเทปให้ทุกคน เด็ก ๆ มาหาผมและพูดว่า เนอร์วานาเป็นวงโปรดของฉันเลยและผมก็ว่า ฮ่าเยี่ยมไปเลย , แต่รับเทปไปซะไอ้หนู [9] Eddie Vedder ได้ทำการเปิดเพลง 2 เพลง จากที่อัดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 1995 เป็นที่แรกผ่านทางวิทยุกระจายเสียง Self-Pollution Radio[5] การบันทึกเป็นไปอย่างแพร่กระจ่าย ในเหล่าวงการเพลง , ซึ่งสร้างความน่าสนใจให้กับเรเคิดส์ ลาเบล (Record Label) ในท้ายที่สุดก็เซ็๋นสัญญากับค่าย แคปิตอลเรเคิดส์ โดยประธานบริษัทแคปิตอลเรเคิดส์ซี่งเป็นเพื่อนสนิทของ Dave Grohl ตั้งแต่เมื่อเขาอยู่กับวงเนอร์วานากับค่าย Geffen Records[3][10]

ชาร์ต[แก้]

การรับรอง[แก้]

การรับรองยอดขายสำหรับ ฟูไฟเตอส์
ประเทศ การรับรอง จำนวนหน่วยที่รับรอง/ยอดขาย
Australia (ARIA)[34] Gold 35,000^
Canada (Music Canada)[35] Platinum 100,000^
New Zealand (RMNZ)[36] Gold 7,500^
United Kingdom (BPI)[38] Platinum 374,187[37]
United States (RIAA)[39] Platinum 1,000,000^

^ตัวเลขการจัดส่งขึ้นอยู่กับการรับรองเพียงอย่างเดียว

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Moll, James (director) (2011). Back and Forth (documentary). RCA.
  2. 2.0 2.1 "Everyone Has Their Dark Side", Mojo (April 2005)
  3. 3.0 3.1 Murphy, Kevin (July 2005). "Honor Roll". Classic Rock. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 10, 2012. สืบค้นเมื่อ May 21, 2012.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 My Brilliant Career เก็บถาวร กันยายน 19, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Q (November 2007)
  5. 5.0 5.1 5.2 From Penniless Drummer To The Bigest (sic) Rock Icon In the World, Kerrang! (November 2009)
  6. 6.0 6.1 6.2 Apter, Jeff (2006). The Dave Grohl Story. Music Sales Group. pp. 256–260. ISBN 978-0-85712-021-2.
  7. "I have all these huge fucking riffs, I can scream for three hours... LET'S GO!", Classic Rock, May 2011
  8. Mundy, Chris (October 1995). "Invasion Of The Foo Fighters – Dave Grohl Takes Command". Rolling Stone. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 19, 2011. สืบค้นเมื่อ May 21, 2012.
  9. Heatley, Michael. Dave Grohl: Nothing to Lose. 2006
  10. Rosen, Craig (June 24, 1995). "Time Off Re-energizes the Foo Fighters". Billboard.
  11. "Australiancharts.com – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  12. "ARIA Alternative Charts Top 20". ARIA Report. No. 286. August 6, 1995. p. 12. สืบค้นเมื่อ November 27, 2021.
  13. "Austriancharts.at – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาเยอรมัน). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  14. "Ultratop.be – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาดัตช์). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  15. "Ultratop.be – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาฝรั่งเศส). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  16. "Top RPM Albums: Issue 2735". RPM. Library and Archives Canada. สืบค้นเมื่อ October 20, 2019.
  17. "Dutchcharts.nl – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาดัตช์). Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  18. "European Top 100 Albums" (PDF). Music & Media. July 22, 1995. p. 13. สืบค้นเมื่อ August 1, 2018.
  19. "Foo Fighters: Foo Fighters" (ภาษาฟินแลนด์). Musiikkituottajat – IFPI Finland. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  20. "Offiziellecharts.de – Foo Fighters – Foo Fighters" (ภาษาเยอรมัน). GfK Entertainment Charts. สืบค้นเมื่อ December 30, 2020.
  21. "Charts.nz – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  22. "Official Scottish Albums Chart Top 100". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ November 18, 2021.
  23. "Swedishcharts.com – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  24. "Swisscharts.com – Foo Fighters – Foo Fighters". Hung Medien. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  25. "Official Albums Chart Top 100". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ November 18, 2021.
  26. "Official Rock & Metal Albums Chart Top 40". Official Charts Company. สืบค้นเมื่อ June 21, 2020.
  27. "Foo Fighters Chart History (Billboard 200)". Billboard. สืบค้นเมื่อ June 26, 2016.
  28. "Top Albums/CDs – Volume 62, No. 20, December 18 1995". RPM. 18 December 1995. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 6, 2020. สืบค้นเมื่อ February 9, 2021.
  29. "Year End Sales Charts - European Top 100 Albums 1995" (PDF). Music & Media. December 23, 1995. p. 14. สืบค้นเมื่อ July 29, 2018.
  30. "Top Selling Albums of 1995". The Official NZ Music Charts. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 8, 2021. สืบค้นเมื่อ February 25, 2021.
  31. "End of Year Album Chart Top 100 – 1995". Official Charts Company. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 16, 2021. สืบค้นเมื่อ February 15, 2021.
  32. "Top Billboard 200 Albums – Year-End 1995". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 16, 2019. สืบค้นเมื่อ February 15, 2021.
  33. "Top Billboard 200 Albums – Year-End 1996". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 27, 2018. สืบค้นเมื่อ February 15, 2021.
  34. "ARIA Charts – Accreditations – 1996 Albums" (PDF). Australian Recording Industry Association. สืบค้นเมื่อ July 13, 2021.
  35. "Canadian album certifications – Foo Fighters – Foo Fighters". Music Canada.
  36. "New Zealand album certifications – FoocFighters – The Colour and the Shape". Recorded Music NZ. สืบค้นเมื่อ December 30, 2020.
  37. Garner, George (September 22, 2017). "The Big Interview: Foo Fighters". Music Week. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 10, 2021. สืบค้นเมื่อ December 30, 2020.
  38. "British album certifications – Foo Fighters – Foo Fighters". British Phonographic Industry.
  39. "American album certifications – Foo Fighters – Foo Fighters". Recording Industry Association of America.