พ.ศ. 40

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศตวรรษ:
ปี:
504 BC ในปฏิทินอื่น
ปฏิทินสุริยคติไทย40
ปฏิทินกริกอเรียน504 BC
Ab urbe condita250
ปฏิทินอาร์มีเนียN/A
ปฏิทินอัสซีเรีย4247
ปฏิทินบาไฮ−2347 – −2346
ปฏิทินเบงกอล−1096
ปฏิทินเบอร์เบอร์447
ปีในรัชกาลอังกฤษN/A
พุทธศักราช41
ปฏิทินพม่า−1141
ปฏิทินไบแซนไทน์5005–5006
ปฏิทินจีน丙申(วอกธาตุไฟ)
2193 หรือ 2133
    — ถึง —
丁酉年 (ระกาธาตุไฟ)
2194 หรือ 2134
ปฏิทินคอปติก−787 – −786
ปฏิทินดิสคอร์เดีย663
ปฏิทินเอธิโอเปีย−511 – −510
ปฏิทินฮีบรู3257–3258
ปฏิทินฮินดู
 - วิกรมสมวัต−447 – −446
 - ศกสมวัตN/A
 - กลียุค2598–2599
ปฏิทินโฮโลซีน9497
ปฏิทินอิกโบ−1503 – −1502
ปฏิทินอิหร่าน1125 BP – 1124 BP
ปฏิทินอิสลาม1160 BH – 1159 BH
ปฏิทินญี่ปุ่นN/A
ปฏิทินจูเชN/A
ปฏิทินจูเลียนN/A
ปฏิทินเกาหลี1830
ปฏิทินหมินกั๋ว2415 ก่อน ROC
民前2415年

พุทธศักราช 40 ใกล้เคียงกับ ก่อน คริสต์ศักราช 504

เหตุการณ์[แก้]

ภายหลังสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว พระอานนท์ได้เที่ยวจาริกสั่งสอนเวไนยสัตว์แทนองค์พระศาสดา จนชนมายุของท่านล่วงเข้า 120 ปี (พ.ศ. 40) ท่านจึงได้พิจารณาอายุสังขารของท่านพบว่า อายุสังขารของท่านนั้นยังอีก 7 วันก็จะสูญสิ้นเข้าสู่พระนิพพาน ท่านจึงพิจารณาว่าท่านจะเข้านิพพาน ณ ที่ใด ก็เห็นว่าท่านจะเข้านิพพานที่ปลายแม่น้ำโรหิณี ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์ กับเมืองเทวทหะ ซึ่งมีพระประยูรญาติอยู่ทั้ง 2 ฝ่าย จากนั้นท่านจึงได้ลาภิกษุสงฆ์ และชนทั้งหลาย จนครบ 7 วันแล้ว ท่านจึงได้แสดงอิทธิปาฏิหาริย์นานาประการ แล้วตั้งจิตอธิษฐานให้กายของท่านแตกออกเป็น 2 ภาค ภาคหนึ่งให้ตกที่ฝั่งกรุงกบิลพัสดุ์ อีกภาคหนึ่งตกที่เทวทหะ แล้วท่านได้เจริญเตโชกสิณ ทำให้เปลวเพลิงบังเกิดในร่างกาย เผาผลาญมังสะและโลหิตให้สูญสิ้น ยังเหลือแต่พระอัฐิธาตุสีขาวดังสีเงิน พระอัฐิธาตุที่เหลือจึงแตกออกป็น 2 ภาค ด้วยกำลังอธิษฐานของท่าน บรรดาพระประยูรญาติและชนที่มาชุมนุมกัน ณ ที่นั้นต่างก็รองรับพระธาตุไว้ แล้วสร้างพระเจดีย์บรรจุไว้ทั้ง 2 ฟากของแม่น้ำโรหิณี

วันเกิด[แก้]

วันถึงแก่กรรม[แก้]

  • พระอานนท์ (ประสูติพร้อมกันกับพระพุทธเจ้าและสหชาติอีก 6)