พูดคุย:ปรัชญา

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปรัชญา เป็นส่วนหนึ่งของ สถานีย่อยปรัชญา เพื่อรวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับปรัชญา ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการได้โดยการช่วยกันพัฒนาบทความปรัชญา หรือแวะไปที่สถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

คำศัพท์[แก้]

ผมแก้เนื้อหาหลายส่วนกลับนะครับ (เนื้อหาตั้งต้นแปลมาจาก en:Philosophy)

  1. ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย คิดว่าคงไม่ใช่ โพสต์โมเดิร์น นะครับ มันคือ contemporary philosophy (หรือจะเรียกว่าเป็น modern philosophy ก็น่าจะได้นะครับ) แล้วก็การแบ่งนี้ที่ว่าเป็น ภาคพื้นทวีป กับแบบวิเคราะห์นั้นก็ไม่ชัดเจน
  2. ส่วนที่พูดเกี่ยวกับปรัชญากรีก ที่บอกว่าแบ่งเป็นกลุ่มนั้น ไม่ได้มีแบ่งเอา ออนโทโลจี หรือ (ภววิทยา) ออกมาครับ
  3. ลิงก์ภายนอกไปที่ 4 ท่าที่ที่มีต่อความจริง : รากฐานปรัชญาหลังสมัยใหม่ น่าจะนำไปใส่ในหน้าหลังสมัยใหม่นิยม มากกว่าครับ เพราะว่าหน้านี้เป็นหน้าของปรัชญาโดยทั่วไปครับ

--- Jittat 01:29, 31 พ.ค. 2005 (UTC)


  1. ข้อที่ 1 ไม่แน่ใจ ครับ ขอดูก่อน
  2. จริง ผมเบลอไปเองตอนที่แก้ 555
  3. ได้ๆๆ

--- We

เกี่ยวกับข้อที่หนึ่ง ตอนแรกที่ผมเรียกว่าน่าจะเป็น modern philosophy คงจะไม่ค่อยถูกนัก คิดว่าเป็น "ปรัชญาร่วมสมัย" มากกว่า (เพราะว่าเท่าที่ดูมาอีกที มันเกิดขึ้นหลังการปะทะกันของ empiricalists กับ rationalists นานพอสมควร) แต่คิดว่าที่แบ่งเป็นสองกลุ่มคือแบบ analytical (ที่มี Gottlob Frege, Bertrand Russell, G. E. Moore และ Ludwig Wittgenstein) กับ continental (ที่มีพวก phenomenology, existentialism, hermeneutics, structuralism, post-structuralism and post-modernism, psychoanalysis, ไปจนถึง marxist philosophy) ซึ่งคิดว่าไม่น่าจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ pomo โดยตรงน่ะครับ --- Jittat 01:08, 1 มิ.ย. 2005 (UTC)

ู็ในภาษากรีก philien ไม่ได้แปลว่าความรัก แต่แปลว่ามิตรภาพ คำว่าความรักคือ eros ส่วน sophia ไม่ได้แปลว่าความรู้ แต่แปลว่าปัญญา คำว่าปัญญาคือ episteme ดังนั้นปรัชญาไม่ได้แปลว่าความรักในความรู้ แต่แปลว่า การมีมิตภาพกับปัญยา แปลให้ง่ายคือการไฝ่หาความรู้ครับ การแปลว่าความรักในความรู้ถือว่าเป็นการแปลที่ทำให้นัยของคำผิดพลาด

~~Iammean


2018.9.17

ตามรากศัพท์บาลีั-สันสกฤตpali-sanskrit ปัญญา-ปรัชญา เป็นคำเดียวกัน และเป็นคำเดียวกับ"wisdom"

प्रज्ञा (ปฺรชฺญา, “ความรู้”) แปลตรงๆคือ สภาวะที่รู้ในความจริง หมายถึง  “ความรู้” (wise)

ไม่ได้แยกกันเป็น ปรฺ + ชญ กล่าวคือ --- ปฺร ไม่ได้แปลว่าประเสริฐ, เช่นกับเดียวกับคำว่า ชฺญา ไม่ได้แปลว่ารู้ ปฺร पर เป็นบุพบทขยาย แปลว่า on, at upon (ณ, ที่, เมื่อ) --- "ปรฺม परम" ต่างหากที่แปลว่า สูงสุด ประเสริฐ ยิ่งใหญ่, ส่วน "ชญ जय " แปลว่า ชัย หรือ ชนะ


ส่วนคำว่า ประเสริฐ มาจาก ปร+เศรษฐ แปลว่า (ณ จุด)ที่+ยิ่งใหญ่ (ปร เป็นตัวขยาย,บุพบท เท่านั้น ไม่มีความหมาย) ประเสริฐ = ดีสุด สูงสุด

(ตัวอย่าง --- นรเศรษฐ = นร+เศรษฐ = มนุษย์ผู้ยิ่งใหญ่)

ปฺรชฺญา ปรัชญา เป็นคำเดี่ยว สังเกตุตัวอักษรเทวนาครี ที่ต่างกัน प्रज्ञा ปฺรชฺญา --/-- ไม่ได้เกิดจากคำ2คำ ปฺร पर ชฺญ जय

philosophy มาจาก Ancient Greek ซึี่งพัฒนาต่อมาเป็นภาษาKoine Greekซึ่งเป็นภาษาแรกของอาณาจักรโรมัน(และพัฒนาต่อมาเป็นภาษาLatin) "philo + sophia" ในAncient Greekหมายถึง Wisdom Lover คำว่าPhilos (φιλος) แปลว่าlover, friend ---- คำว่า sophia (σοφία) แปลว่า wise, wisdom, intelligent, skillful เป็นคำในความหมายเดียวกับ sapere, sapientia (ที่ใช้ในคำว่าHomo sapiens, มนุษย์) - ภาษาLatin (เห็นตาม Iammean, philo + sophia แปลว่า การไฝ่หาความรู้) แปลตรงๆคือ ผูัรักความรู้, การรักความรู้

philosophy จึงควรแปลง่ายๆว่า “ความรู้” (ตัวอย่าง --- Western philosophy ปรัชญาตะวันตก = ความรู้ทางตะวันตก)

ในภาษาไทย มักใช้ ปัญญา-ปรัชญา ต่างกัน แต่คือคำๆเดียวกัน