ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดียภาษาไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Markyouze (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Markyouze (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
หล่อออออออออออออออออ{{ดูเพิ่มที่|วิกิพีเดีย:สถิติ}}
== ข่าว ==
เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2554 มีข่าวว่า [[จุติ ไกรฤกษ์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กล่าวว่า มอบหมายให้[[กสท โทรคมนาคม]]นำเงิน 10.7 ล้านบาทจ้างแปลบทความวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ 3 ล้านบทความเป็นภาษาไทย โดยใช้เทคโนโลยี Statistical Machine Translation เนื้อหาที่แปลแล้วจะอยู่บน www.asiaonline.com<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/tech/139704 |title=ไอซีทีรับลูกบรอดแบนด์นายกฯ ลั่น 8ม.ค.เว็บไทยติดเบอร์2โลก |publisher=ไทยรัฐ |accessdate=2014-06-25}}</ref>

วันที่ 11 ตุลาคม 2555 [[ดีแทค]]เปิดบริการวิกิพีเดียซีโร่ (Wikipedia Zero) ซึ่งไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยเปิดตัวครั้งแรกในงานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู (Educa 2012)<ref>{{cite web|url=
http://www.thairath.co.th/content/297599 |title=ดีแทคผุด 'วิกิพีเดียซีโร่' สืบค้นข้อมูลผ่านมือถือ หนุน นร.-ครูใช้ |publisher=ไทยรัฐ |accessdate=2015-12-14}}</ref>

เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2556 มีรายงานว่า มีผู้เข้าไปแก้ไขเนื้อหาบทความ[[กรมสอบสวนคดีพิเศษ]] อ้างว่า [[ธาริต เพ็งดิษฐ์]] ถึงแก่กรรมแล้ว และแก้ไขชื่อเป็น "ธาริตสีดวง" มีผลงาน "เป่านกหวีด" ฝ่ายธาริตกล่าวว่าจะไม่ฟ้องร้อง<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/390871 |title=มือดีแก้เนื้อหา'ดีเอสไอ'ในวิกิพีเดีย อ้าง'ธาริต'ตายแล้ว |publisher=ไทยรัฐ |accessdate=2014-06-06}}</ref>

เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2557 [[ดีแทค]]เปิดตัวกิจกรรม "เพิ่มพูนความรู้ให้สังคมไทยกับวิกิพีเดีย" เชิญชวนให้พนักงานแปลบทความวิกิพีเดียภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยตั้งเป้าช่วยสร้างบทความภาษาไทย 5,000 เรื่อง จำนวนชั่วโมงอาสารวมกว่า 10,000 ชั่วโมง ด้านทวีธรรม ลิมปานุภาพ ผู้ประสานงานอาสาสมัครวิกิพีเดียในประเทศไทย กล่าวว่า วิกิพีเดียภาษาไทยยังมีบทความน้อยมากเมื่อเทียบกับวิกิพีเดียภาษาอื่น และบทความส่วนใหญ่ยังสั้นและข้อมูลไม่ครบถ้วน นอกจากนี้ ยังมีอาสาสมัครน้อยมากเมื่อเทียบกับประชากรที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ การที่มีอาสาสมัครเพิ่มขึ้นจะทำให้วิกิพีเดียภาษาไทยสามารถบริหารเนื้อหาให้มีคุณภาพทัดเทียมวิกิพีเดียในประเทศที่พัฒนาแล้ว<ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/419120 |title= อาสาสมัครต่อยอดคลังความรู้ เพิ่มบทความภาษาไทยบนวิกิพีเดีย|publisher=ไทยรัฐ |accessdate=2014-06-06}}</ref>

เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2557 มีข่าวว่า วิกิพีเดียภาษาไทยระบุชื่อ พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เป็นนายกรัฐมนตรีก่อนหน้า[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]][[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2557|ลงมติเลือก]]<ref>[http://www.nationmultimedia.com/breakingnews/Thai-Wikipedia-jumps-gun-to-name-Prayuth-29th-PM-o-30241412.html Thai Wikipedia jumps gun to name Prayuth 29th PM of Thailand]</ref>

เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2557 ช่วงบ่าย มีรายงานว่าเมื่อเข้ายูอาร์แอลวิกิพีเดียภาษาไทยแล้ว หน้าจอปรากฏข้อความจาก[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]]ระบุว่า "มีเนื้อหาและข้อมูลที่ไม่เหมาะสม" เครือข่ายที่ไม่สามารถเข้าถึงได้มี 3BB<ref name=":0">[[stats:EN/TablesWikipediaTH.htm|Wikipedia Statistics Thai]]. สืบค้นเมื่อ 7-6-2014.</ref><ref name=":0" /> และทรู แต่ยังสามารถเข้าได้ทางยูอาร์แอล https ตลอดจนรุ่นสำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่<ref>[http://www.prachatai.com/journal/2014/09/55619 ICT บล็อกเว็บสารานุกรมเสรี 'วิกิพีเดียภาษาไทย' ระบุ “เนื้อหาไม่เหมาะสม"]</ref><ref>[http://hilight.kapook.com/view/108346 ชาวเน็ตงง เปิดเว็บวิกิพีเดียไทย เจอโดนบล็อก]</ref>

== สถิติ ==
{{ดูเพิ่มที่|วิกิพีเดีย:สถิติ}}


<center>
<center>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:38, 24 กันยายน 2561

หล่อออออออออออออออออ

สถิติวิกิพีเดียภาษาไทย
จำนวนบัญชีผู้ใช้ จำนวนบทความ จำนวนไฟล์ จำนวนผู้ดูแลระบบ
475,352 164,271 20,972 18
ขนาดบทความทั้งหมด ขนาดบทความเฉลี่ย บทความที่ใหญ่กว่า 2KB ค่าเฉลี่ยการเข้าถึงบทความ
791.1 MB 35.1 KB 47% 42.4 ครั้ง/บทความ/เดือน

การเข้าใช้

แหล่งของการเข้าชม (มิถุนายน 2561)
ที่มา
ไทย ไทย
  
94.9%
สหรัฐ สหรัฐ
  
1.5%
ลาว ลาว
  
0.8%
อื่น ๆ
  
2.8%

เว็บไซต์วิกิพีเดีย (รวมทุกภาษา) เป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้จากประเทศไทยเข้ามากเป็นอันดับที่ 8[1] โดยการจัดอับดับของอเล็กซา และเมื่อเทียบกับวิกิพีเดียภาษาอื่น ๆ วิกิพีเดียภาษาไทยมีผู้ใช้ทั่วโลกเข้ามากเป็นอันดับที่ 19[2] จากฐานข้อมูลสถิติของวิกิมีเดีย

จากการสำรวจด้วยแบบสอบถามโดย มนัสชล หิรัญรัตน์ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในราว พ.ศ. 2549-2550 จากกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้วิกิพีเดียภาษาไทยและผู้ใช้อินเทอร์เน็ตชาวไทย 400 คน ร้อยละ 80 เปิดดูวิกิพีเดียภาษาไทยอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง และร้อยละ 48 เปิดอย่างน้อยสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง โดยร้อยละ 54 เข้าสู่เว็บไซต์โดยตรง (ผ่านทางที่อยู่ th.wikipedia.org) และร้อยละ 51 เข้าผ่านทางเสิร์ชเอนจิน (หนึ่งคนสามารถตอบได้มากกว่าหนึ่งช่องทาง) และมีประมาณร้อยละ 27 ที่ตอบว่าเคยมีส่วนร่วมในการปรับปรุงเนื้อหาในวิกิพีเดียภาษาไทย[3]

ใน พ.ศ. 2555 มีการเปิดเผยคำค้นที่มีผู้ค้นหามากที่สุด พบว่าคำค้นสามอันดับแรกที่มีผู้ค้นหาในวิกิพีเดียภาษาไทยมากที่สุด ได้แก่ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, เศรษฐกิจพอเพียงและประเทศไทยตามลำดับ[4]

ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 มี 5,704 บัญชีที่มีการแก้ไขอย่างน้อย 10 ครั้ง มีบัญชีที่แก้ไขมากกว่า 5 ครั้งในเดือนนั้น 347 บัญชี และแก้ไขมากกว่า 100 ครั้ง 52 บัญชี[5]

ขนาด

จำนวนบทความ

ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาไทยมีทั้งหมด 1,084,982 หน้า โดยเป็นบทความ 164,271 หน้า ส่วนที่เหลือเป็นหน้าโครงการ แม่แบบ วิธีใช้ หน้าพิเศษ และหน้าอภิปราย

จำนวนผู้ลงทะเบียน

ปัจจุบันมีจำนวนผู้ใช้ที่ลงทะเบียนแล้ว 475,352 บัญชี เป็นผู้ดูแล 18 บัญชี อัตราส่วนผู้ใช้ต่อผู้ดูแลเท่ากับประมาณ 26,407 : 1

จำนวนสื่อภาพและเสียง

ปัจจุบันมีจำนวนไฟล์ภาพและสื่อทั้งหมด 20,972 ไฟล์ ไม่รวมภาพที่เชื่อมโยงมาจากวิกิมีเดียคอมมอนส์

จำนวนการแก้ไข

ปัจจุบันมีการแก้ไขทั้งหมดรวม 11,479,600 ครั้ง หรือ 10.58 ครั้งต่อหนึ่งหน้าโดยเฉลี่ย

การประเมินคุณภาพภายใน

โดยรวมวิกิพีเดียใช้การควบคุมคุณภาพภายในซึ่งใช้จัดระเบียบการสนับสนุนและพัฒนาเนื้อหาแก่ผู้ใช้ พิสัยการประเมินควบคุมคุณภาพเริ่มจากการประเมินขั้น "โครง" ซึ่งจากนั้นจะมีการขัดเกลาและพัฒนาเป็น "พอใช้" และ "ดี" ตามลำดับ กระทั่งถึงมาตรฐานคุณภาพที่ประเมินภายในสูงสุดในขั้น "บทความคัดสรร" ในบรรดา 80,000 กว่าบทความในเดือนมิถุนายน 2557 มี 110 บทความที่เป็นบทความคัดสรร (ประมาณ 0.0013 % ของทั้งหมด)

อ้างอิง

  1. อเล็กซา Top Sites in Thailand, เรียกดู 11 มีนาคม พ.ศ. 2555
  2. อเล็กซา Wikipedia Statistics, เรียกดู 29 มาราคม 2013
  3. มนัสชล หิรัญรัตน์. สารานุกรมวิกิพีเดียภาษาไทยและการสื่อสารความรู้สู่สาธารณะ. วิทยานิพนธ์ นศ.ม. (นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต วารสารสนเทศ). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  4. "วิกิพีเดีย"เผยท็อป 10 คำค้นแห่งปี "เฟซบุ๊ก"แชมป์ภาษาอังกฤษ "อาเซียน"อันดับ1ภาษาไทย
  5. "Wikipedia Statistics - Chart Thai". Stats.wikimedia.org. สืบค้นเมื่อ 2014-07-04.

แหล่งข้อมูลอื่น