ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manasgoldenmice (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ข้อความทั้งหมดด้วย 'Dot Com Bubble ไทย ลาว เขมร'
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
Dot Com Bubble ไทย ลาว เขมร
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน
|Basin=WPac
|Year=2014
|First storm formed=10 มกราคม พ.ศ. 2557
|Last storm dissipated=ฤดูกาลยังดำเนินอยู่
|Strongest storm name=นอกูรี
|Strongest storm pressure=930
|Strongest storm winds=95
|Average wind speed=10
|Total depressions=16
|Total storms=10
|Total hurricanes=4
|Total intense=2 <small>(อย่างไม่เป็นทางการ)</small>
|Fatalities=209 คน
|Damages=1267
|Track=2014 Pacific typhoon season summary.png
|Season timeline=<!--Timeline of the 2013 Pacific typhoon season-->
|five seasons=[[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555|2555]], [[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556|2556]], '''2557''', [[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558|2558]], [[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559|2559]]}}

'''ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557''' เป็นฤดูกาลในปัจจุบันที่มีการก่อตัวของ[[พายุหมุนเขตร้อน]]ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2557 โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]]จะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่[[สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์]]กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม ดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าจับตาโดย[[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น]]ของสหรัฐอเมริกาได้กำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ข้างหน้า โดยเฉลี่ยแล้ว มีพายุก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้เฉลี่ย 27 ลูกต่อปี

== การพยากรณ์ฤดูกาล ==
{| class="toccolours" cellspacing="0" cellpadding="3" style="float:right; margin-left:1em; text-align:left;"
|- style="background:#ccf;"
! colspan=6|การพยากรณ์ขององค์การความเสี่ยงพายุโซนร้อน
|- style="background:#ccf;"
! วันที่ !! <small>พายุ<br>โซนร้อน</small> !! <small>พายุไต้ฝุ่น<br>ทั้งหมด</small> !! <small>พายุหมุน<br>รุนแรง</small> !! <small>[[การสะสมพลังงานพายุหมุน|ดัชนี<br>ACE]]</small> !! <small>อ้างอิง</small>
|-
| <small>เฉลี่ย (2508–2555)</small> || 26 || 16 || 8 || 295 ||
|-
| 6 พฤษภาคม 2557 || 27 || 17 || 11 || 375 ||<ref name="TSR May">{{cite report|date=May 6, 2014|author2=Lea, Adam|title=Extended Range Forecast for Northwest Pacific Typhoon Activity in 2014|url=http://www.tropicalstormrisk.com/docs/TSRNWPForecastMay2014.pdf|accessdate=May 7, 2014|author=Saunders, Mark|publisher=Tropical Storm Risk Consortium|deadurl=no|archiveurl=http://www.webcitation.org/6POnhDlFd|archivedate=May 7, 2014|type=}}</ref>
|- style="background:#ccf;"
! วันที่ !! <small>ศูนย์<br>พยากรณ์</small> !! <small>พายุ<br>โซนร้อน</small> !! <small>พายุไต้ฝุ่น<br>ทั้งหมด</small> !! <small>อ้างอิง</small>
|-
| 5 พฤษภาคม 2557 || CMA-STI || 26–28 || – ||<ref name="TSR May"/>
|-
| '''เกิดขึ้นจริง''' || JMA || '''7''' || '''1''' ||
|-
| '''เกิดขึ้นจริง''' || JTWC || '''6''' || '''2''' ||
|}
ในระหว่างฤดูกาล หลายหน่วยงานอุตุนิยมวิทยาและหน่วยงานทางวิทยาศาสตร์ของแต่ละประเทศจะมีการณ์คาดการณ์ของพายุหมุนเขตร้อน, พายุโซนร้อนและพายุไต้ฝุ่น ที่จะก่อตัวในช่วงฤดู และ/หรือ จะมีพายุกี่ลูกที่ส่งผลกระทบต่อประเทศนั้น<ref name="TSR May">{{cite report|date=May 7, 2013|author2=Lea, Adam|title=Extended Range Forecast for Northwest Pacific Typhoon Activity in 2013|url=http://www.tropicalstormrisk.com/docs/TSRNWPForecastMay2013.pdf|accessdate=October 1, 2013|author=Saunders, Mark|publisher=Tropical Storm Risk Consortium|deadurl=no|archiveurl=http://www.webcitation.org/6Hy0OnXiw|archivedate=July 8, 2013|type=}}</ref> หลายหน่วยงานนี้ได้รวมไปถึงองค์การความเสี่ยงพายุโซนร้อน <small>(TSR)</small> ของ[[มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน]], [[สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์]] <small>(PAGASA)</small> และ[[สำนักสภาพอากาศกลาง]]ของไต้หวันด้วย<ref name="TSR May"/><ref name="CWB">{{cite report|location=Taiwan|publisher=Central Weather Bureau|url=http://www.cwb.gov.tw/V7/news/Newsbb/EN/062713E.doc|title=Two to Four Typhoons Tend to Impinge upon Taiwan during 2013|date=June 27, 2013|author=Ming-Dean Cheng|work=Weather Forecast Center|accessdate=October 1, 2013|format=.doc}}</ref><ref name="PAG 1">{{cite report|archiveurl=http://www.webcitation.org/6HtcJbDyL|title=January&nbsp;— June 2013|type=Seasonal Climate Outlook|accessdate=March 1, 2013|url=http://kidlat.pagasa.dost.gov.ph/cab/outlook.pdf|archivedate=July 5, 2013|date=August 13, 2012|publisher=Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration|author=Servando, Nathaniel T}}</ref>
ช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 VNCHMF คาดการณ์ว่าจะมีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวและพัฒนา ที่อาจจะส่งผลกระทบกับประเทศเวียดนาม 1 ถึง 2 ลูก ในช่วงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึง เมษายน พ.ศ. 2557<ref name="Vietnam Oct">{{cite web|publisher=Vietnamese National Center for Hydro Meteorological forecasts|url=http://www.nchmf.gov.vn/web/en-US/70/106/Default.aspx|date=October 4, 2013|accessdate=October 14, 2013|title=Winter&nbsp;— Spring Season Outlook (From November 2013 to April 2014)|archiveurl=http://www.webcitation.org/6KN89U99x|archivedate=October 14, 2013}}</ref> ภายในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน แนวโน้มสภาพอากาศตามฤดูกาลของ PAGASA ทำนายว่าจะมีพายุหมุนเขตร้อนหนึ่งถึงสองลูกที่จะก่อตัวหรือพัฒนาขึ้น และ/หรือ เคลื่อนตัวเข้าสู่เขตพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ในระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ในขณะที่เดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน จะมีทั้งหมดสามถึงหกลูก<ref name="PAG 1"/>

== สรุปฤดูกาล ==
<!--
from:01/10/2014 till:01/11/2014 text:October
from:01/11/2014 till:01/12/2014 text:November
from:01/12/2014 till:01/01/2015 text:December -->
<center>
<timeline>
ImageSize = width:790 height:253
PlotArea = top:10 bottom:80 right:20 left:20
Legend = columns:2 left:30 top:58 columnwidth:270
AlignBars = early
DateFormat = dd/mm/yyyy
Period = from:01/01/2014 till:01/10/2014
TimeAxis = orientation:horizontal
ScaleMinor = grid:black unit:month increment:1 start:01/01/2014
Colors =
id:canvas value:gray(0.88)
id:GP value:red
id:TD value:rgb(0.38,0.73,1) legend:Tropical_Depression_=_<62_km/h_(<39_mph)
id:TS value:rgb(0,0.98,0.96) legend:Tropical_Storm_=_63-88_km/h_(39-54_mph)
id:ST value:rgb(0.80,1,1) legend:Severe_Tropical_Storm_=_89-117_km/h_(55-73_mph)
id:TY value:rgb(0.99,0.69,0.6) legend:Typhoon_=_>118_km/h_(>74_mph)
Backgroundcolors = canvas:canvas
BarData =
barset:Hurricane
bar:month
PlotData=
barset:Hurricane width:10 align:left fontsize:S shift:(4,-4) anchor:till
from:10/01/2014 till:12/01/2014 color:TD text:"TD"
from:15/01/2014 till:20/01/2014 color:TS text:"Lingling"
from:29/01/2014 till:01/02/2014 color:TS text:"Kajiki"
from:27/02/2014 till:05/03/2014 color:TY text:"Faxai"
from:11/03/2014 till:12/03/2014 color:TD text:"TD"
from:18/03/2014 till:24/03/2014 color:TD text:"Caloy"
from:02/04/2014 till:08/04/2014 color:TS text:"Peipah"
from:13/04/2014 till:15/04/2014 color:TD text:"TD"
from:19/04/2014 till:21/04/2014 color:TD text:"TD"
from:27/04/2014 till:02/05/2014 color:ST text:"Tapah"
from:09/06/2014 till:12/06/2014 color:TS text:"Mitag"
from:13/06/2014 till:17/06/2014 color:TS text:"Hagibis"
barset:break
from:02/07/2014 till:11/07/2014 color:TY text:"Neoguri"
from:10/07/2014 till:20/07/2014 color:TY text:"Rammasun"
from:16/07/2014 till:23/07/2014 color:TY text:"Matmo"
from:19/07/2014 till:22/07/2014 color:TD text:"TD"
bar:Month width:5 align:center fontsize:S shift:(0,-20) anchor:middle color:canvas
from:01/01/2014 till:01/02/2014 text:January
from:01/02/2014 till:01/03/2014 text:February
from:01/03/2014 till:01/04/2014 text:March
from:01/04/2014 till:01/05/2014 text:April
from:01/05/2014 till:01/06/2014 text:May
from:01/06/2014 till:01/07/2014 text:June
from:01/07/2014 till:01/08/2014 text:July
from:01/08/2014 till:01/09/2014 text:August
from:01/09/2014 till:01/10/2014 text:September
</timeline>
</center>

== พายุ ==

=== พายุโซนร้อนเหล่งเหลง (อากาตอน) ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=10
|Dissipated=21 มกราคม
|Image=Lingling 2014-01-18 0210Z.jpg
|Track=Lingling 2014 track.png
|10-min winds=35
|10-min winds(TMD)=35
|1-min winds=35
|Pressure=1002
}}
*'''วันที่ 10 มกราคม''' [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]] (JMA) รายงานว่าพบพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ[[ปาเลา]]<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MWgnUBZB|title=Warning and Summary – January 10, 2014 1200 UTC|date=10 January 2014|accessdate=10 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MWhnJGMC|title=Tropical Cyclone Advisory – January 10, 2014 1200 UTC|date=10 January 2014|accessdate=10 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 12 มกราคม''' JMA ได้ลดระดับความรุนแรงลงไปที่หย่อมความกดอากาศต่ำ ขณะที่มันกำลังส่งผลกระทบกับฟิลิปปินส์<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MZzlEpho|title=Warning and Summary – January 12, 2014 1200 UTC|date=12 January 2014|accessdate=12 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MZzmI11j|title=Warning and Summary – January 12, 2014 1800 UTC|date=12 January 2014|accessdate=12 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 14 มกราคม''' JMA ได้เพิ่มระดับความรุนแรงของระบบเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนอีกครั้ง<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6McTy1qni|title=Warning and Summary – January 14, 2014 0600 UTC|date=14 January 2014|accessdate=14 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 17 มกราคม''' สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) ได้ใช้ชื่อระบบว่า ''อากาตอน (Agaton)'' และได้ใช้การเตือนภัยระดับ 1 ในเลย์เตใต้, ตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนา
*'''วันที่ 18 มกราคม''' ระบบได้ทวีกำลังแรงขึ้นจนกลายเป็นพายุโซนร้อน โดย JMA ได้ประกาศใช้ชื่อ "''เหล่งเหลง''" ส่วน[[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น]] (JTWC) ได้ประกาศเพิ่มความรุนแรงของพายุเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนและพายุโซนร้อนตามลำดับ และใช้รหัสเรียกขาน ''01W''<ref>{{cite web|title=Tropical storm Lingling is forecast to strike the Philippines at about 18:00 GMT on 18 January.|url=http://www.trust.org/item/20140118075058-3jzez/?source=hppartner|accessdate=January 18, 2014}}</ref>
*'''วันที่ 19 มกราคม''' JTWC ออกประกาศคำเตือนเป็นครั้งสุดท้ายในช่วงท้ายของวัน<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6Mjs5wudE|title=Tropical Cyclone Advisory – January 18, 2014 0900 UTC|date=18 January 2014|accessdate=2 February 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6MlLNYXVl|title=Tropical Depression 01W (Lingling) Warning Number 008|date=19 January 2014|accessdate=2 February 2014|publisher=Joint Typhoon Warning Center}}</ref>
*'''วันที่ 20 มกราคม''' ในช่วงต้นวัน เหล่งเหลง ได้อ่อนกำลังลงอย่างเป็นขั้นตอนอย่างรวดเร็ว
*'''วันที่ 23 มกราคม''' เศษของพายุที่เหลืออยู่ได้ถูกกลืนไปโดยแนวปะทะอากาศเย็น<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6MlLB6aNK|title=Tropical Cyclone Advisory – January 20, 2014 0000 UTC|date=20 January 2014|accessdate=2 February 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6Mn9xfTNZ|title=Warning and Summary – January 21, 2014 0000 UTC|date=21 January 2014|accessdate=2 February 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>

น้ำท่วมและดินถล่มส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 70 คนในฟิลิปปินส์<ref name=NDRRMC-Agaton>{{cite web|url=http://www.ndrrmc.gov.ph/attachments/article/1139/UPD%20SitRep%2032%20re%20Effects%20of%20AGATON%20(31JAN2014).pdf|title=SitRep No. 32 – Effects of Tropical Depression Agaton|date=30 January 2014|accessdate=30 January 2014|publisher=National Disaster Risk Reduction and Management Council}}</ref>
{{clear}}

=== พายุโซนร้อนคาจิกิ (บาชัง) ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=29 มกราคม
|Dissipated=1 กุมภาพันธ์
|Image=Kajiki Jan 31 2014 0440Z.jpg
|Track=Kajiki 2014 track.png
|10-min winds=35
|10-min winds(TMD)=35
|1-min winds=35
|Pressure=1000
}}
*'''วันที่ 23 มกราคม''' กลุ่มพายุฝนฟ้าคะนองก่อตัวขึ้นในช่วงปลายของวัน
*'''วันที่ 29 มกราคม''' [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]] (JMA) รายงานว่าพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวทางตะวันออกของเกาะ[[แยป]]<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MzWU6K9o|title=Warning and Summary – January 29, 2014 0000 UTC|date=29 January 2014|accessdate=29 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MzWVcZ0a|title=Tropical Cyclone Advisory – January 29, 2014 0000 UTC|date=29 January 2014|accessdate=29 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 30 มกราคม''' ทั้ง JMA และ PAGASA ได้เริ่มติดตามและประกาศทวีความรุนแรงพายุเป็นพายุโซนร้อน โดย JMA ใช้ชื่อสากลว่า "คาจิกิ" และ PAGASA ใช้ชื่อภาษาฟิลิปปินส์ว่า "บาชัง (Basyang)"<ref>{{cite web|title=LPA approaching Phl now a tropical cyclone |url=http://www.philstar.com/nation/2014/01/30/1284732/pagasa-lpa-approaching-phl-now-tropical-cyclone|publisher=Louis Bacani|accessdate=January 30, 2014</ref><ref>{{cite web|title=Tropical Storm Kajiki ( Bagyo Basyang ) Intensifies Prior to Landfall |url=http://www.westernpacificweather.com/2014/01/31/tropical-storm-kajiki-bagyo-basyang-intensifies-prior-to-landfall/|publisher=robspeta|accessdate=January 31, 2014}}</ref>
*'''วันที่ 1 กุมภาพันธ์''' เนื่องจากสภาวะที่ไม่เอื้ออำนวยใน[[ทะเลจีนใต้]] คาจิกิ จึงได้สลายตัวไป<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6N48a0kn6|title=Tropical Cyclone Advisory – February 1, 2014 1200 UTC|date=1 February 2014|accessdate=2 February 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6N4Ojb2Am|title=Tropical Depression 02W (Kajiki) Warning Number 009|date=1 February 2014|accessdate=2 February 2014|publisher=Joint Typhoon Warning Center}}</ref>
{{clear}}

=== พายุไต้ฝุ่นฟ้าใส ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=26 กุมภาพันธ์
|Dissipated=6 มีนาคม
|Image=Faxai Mar 4 2014 0304UTC.jpg
|Track=Faxai 2014 track.png
|10-min winds=65
|10-min winds(TMD)=65
|1-min winds=75
|Pressure=975
}}
*'''วันที่ 16 กุมภาพันธ์''' หย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้นบริเวณใกล้กับ[[เกาะชุก|ชุก]] ใกล้กับเส้นศูนย์สูตรและได้รับรหัสเรียกขานว่า Invest 93W และเคลื่อนตัวอย่างช้า ๆ ตามลมเฉือนแนวตั้ง ดังนั้น มันจึงยังไม่สามารถจัดระเบียบการหมุนเวียนได้อย่างถูกต้อง จนเมื่อมันเคลื่อนไปในพื้นที่ที่อยู่ต่ำกว่าลมเฉือนแนวตั้ง ตัวพายุจึงสามารถที่จะจัดระเบียบการหมุนเวียนลมได้
*'''วันที่ 26 กุมภาพันธ์''' [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]] ได้ประกาศทวีความรุนแรงองหย่อมความกดอากาศต่ำเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน และ[[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น]] ได้ประกาศ[[การแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน]]
*'''วันที่ 27 กุมภาพันธ์''' [[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น|JTWC]] ได้ประกาศทวีความรุนแรงของระบบเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนและใช้รหัสเรียกขานว่า ''03W'' หลายชั่วโมงต่อมา [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น|JMA]] ได้ประกาศทวีความรุนแรงของพายุดีเปรสชันเขตร้อน เป็นพายุโซนร้อน และใช้ชื่อ "''ฟ้าใส''"
*'''วันที่ 3 มีนาคม''' JMA ได้ประกาศทวีความรุนแรงของฟ้าใส เป็นพายุโซนร้อนกำลังแรง
*'''วันที่ 5 มีนาคม''' ฟ้าใส ได้ทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่นในช่วงเวลาสั้น ๆ
*'''วันที่ 6 มีนาคม''' ฟ้าใส กลายเป็นพายุกึ่งเขตร้อนอย่างเต็มรูปแบบ
*'''วันที่ 8 มีนาคม''' ฟ้าใส ได้สลายตัวลง เป็นระยะทางหลายกิโลเมตรทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของญี่ปุ่น
{{clear}}

=== พายุดีเปรสชันเขตร้อน 04W (กาโลย)===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=18
|Dissipated=24 มีนาคม
|Image=JMA TD 5 Mar21 07UTC.jpg
|Track=Caloy 2014 track.png
|Prewinds=<
|10-min winds=30
|10-min winds(TMD)=30
|1-min winds=30
|Pressure=1004
}}
*'''วันที่ 12 มีนาคม''' หย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้นใกล้กับทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะ[[กวม]]<ref>{{cite web|title=Possible Tropical Next Week, A Westpacwx In Depth Outlook |url=http://www.westernpacificweather.com/2014/03/13/possible-tropical-next-week-a-westpacwx-in-depth-outlook/|publisher=Robert Speta|accessdate=March 13, 2014}}</ref>
*'''วันที่ 18 มีนาคม''' [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น|JMA]] ได้รายงานว่าพบพายุดีเปรสชันก่อตัวทางตะวันออกเฉียงเหนือเยื้องตะวันออกของ[[คอรอร์]], [[ปาเลา]]<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6OAWFZci1|title=Warning and Summary – March 18, 2014 0600 UTC|date=18 March 2014|accessdate=18 March 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 21 มีนาคม''' ระบบได้จะระเบียบการหมุนเวียนลมและ PAGASA ได้ประกาศใช้ชื่อ ''"กาโลย (Caloy)"''
*'''วันที่ 22 มีนาคม''' [[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น|JTWC]] ได้ประกาศใช้รหัสเรียกขาน 04W กับระบบ
*'''วันที่ 24 มีนาคม''' ระหว่างที่ระบบกำลังเดินทางผ่านไปบนแผ่นดิน ทำให้ระบบได้อ่อนกำลังลงกลายเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ และสลายตัวในเวลาไม่กี่วันต่อจากนั้น
*'''วันที่ 27 มีนาคม''' ส่วนที่เหลือได้เคลื่อนตัวไปทางตะวันตก ลงสู่[[ทะเลจีนใต้]] และสลายตัวไปจนหมดสิ้นทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ[[เวียดนาม]]
{{clear}}

=== พายุโซนร้อนเผ่ย์ผ่า (โดเมง) ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=3
|Dissipated=10 เมษายน
|Image=JMA TD 06 Apr 04 2014 0055Z.jpg
|Track=Peipah 2014 track.png
|Prewinds=
|10-min winds=35
|10-min winds(TMD)=35
|1-min winds=35
|Pressure=998
}}
*'''วันที่ 30 มีนาคม''' กลุ่มของเมฆพายุฝนฟ้าคะนองได้ก่อตัวขึ้นใกล้กับเส้นศูนย์สูตรและ[[ปาปัวนิวกินี]] โดยกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ ๆ ถูกแบ่งเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำและหย่อมความกดอากาศต่ำ 23P
*'''วันที่ 2 เมษายน''' หย่อมดังกล่าวทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6OYK0DA1T|title=Warning and Summary – April 2, 2014 1800 UTC|date=2 April 2014|accessdate=3 April 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6OYKE0fAY|title=Tropical Cyclone Advisory – April 3, 2014 0000 UTC|date=3 April 2014|accessdate=3 April 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 3 เมษายน''' [[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น|JTWC]] ได้ใช้รหัส 05W กับพายุ<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6OYKNRbMf|title=Tropical Depression 05W (Five) Warning Number 001|date=3 April 2014|accessdate=3 April 2014|publisher=Joint Typhoon Warning Center}}</ref>
{{clear}}

=== พายุโซนร้อนกำลังแรงตาปะฮ์ ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=27 เมษายน
|Dissipated=2 พฤษภาคม
|Image=Tapah Apr 29 2014 0355Z.jpg
|Track=Tapah 2014 track.png
|10-min winds=50
|10-min winds(TMD)=60
|1-min winds=70
|Pressure=985
}}
*'''วันที่ 27 เมษายน''' [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น|JMA]] รายงานว่าพบการก่อตัวของพายุดีเปรสชั่นเขตร้อน ห่างจาก[[ฮากาตญา]], [[กวม]] ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้เป็นระยะ 515 กิโลเมตร<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6P8st0vZ2|title=Warning and Summary – April 27, 2014 0000 UTC|date=April 27, 2014|accessdate=April 27, 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6P9BVk7u8|title=Tropical Cyclone Advisory – April 27, 2014 0600 UTC|date=April 27, 2014|accessdate=April 27, 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref> หลังจากนั้น [[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น|JTWC]] ได้ประกาศเพิ่มความรุนแรงของพายุเป็น พายุดีเปรสชันเขตร้อน 06W ในขณะที่มันเคลื่อนตัวไปทางเหนือ<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6P9QCynC5|title=Tropical Depression 06W (Six) Warning Number 001|date=April 27, 2014|accessdate=April 27, 2014|publisher=Joint Typhoon Warning Center}}</ref>
*'''วันที่ 28 เมษายน''' เนื่องจากน้ำมีอุณหภูมิอุ่น ทำให้ระบบสามารถพัฒนาเป็นพายุโซนร้อนได้อย่างรวดเร็ว และ JMA ได้ใช้ชื่อ ''"ตาปะฮ์"'' หลังจากนั้นระบบก็พัฒนาขึ้นเป็นพายุโซนร้อนกำลังแรง<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6PAJBGnY9|title=Tropical Cyclone Advisory – April 28, 2014 0000 UTC|date=April 28, 2014|accessdate=April 28, 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 29 เมษายน''' JMA ได้ประกาศเพิ่มความรุนแรงของตาปะฮ์ เป็นพายุไต้ฝุ่น<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6PBqCAX0H|title=Typhoon 06W (Tapah) Warning Number 007|date=April 29, 2014|accessdate=April 29, 2014|publisher=Joint Typhoon Warning Center}}</ref>
*'''วันที่ 30 เมษายน''' ตาปะฮ์ได้ลดความรุนแรงลงกลายเป็นพายุโซนร้อน<ref>{{cite web|url=http://webcitation.org/6PEtDvXUe|title=Tropical Cyclone Advisory – April 30, 2014 1800 UTC|date=April 30, 2014|accessdate=May 1, 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 2 พฤษภาคม''' JMA ได้ประกาศเพิ่มความรุนแรงของพายุโซนร้อนตาปะฮ์เป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน และตัวพายุได้สลายไปจนหมดในเวลาต่อมา<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6PFIJ8Er9|title=Tropical Cyclone Advisory – May 1, 2014 0600 UTC|date=May 1, 2014|accessdate=May 1, 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
{{clear}}

=== พายุโซนร้อนมิแทก (เอสเตอร์) ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Type2=subtropical
|Formed=9
|Dissipated=12 มิถุนายน
|Image=Mitag Jun 11 2014 0205Z.jpg
|Track=Mitag 2014 track.png
|10-min winds=40
|10-min winds(TMD)=40
|Pressure=994
}}
*'''วันที่ 6 มิถุนายน''' หย่อมความกดอากาศต่ำได้ก่อตัวขึ้นใกล้กับเกาะ ในเขต[[กวนตง]], [[จีน]] และได้อยู่กับร่อง[[มรสุม]]
*'''วันที่ 7 มิถุนายน''' ระบบค่อย ๆ เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก
*'''วันที่ 9 มิถุนายน''' [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น|JMA]] รายงานว่าระบบทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน ซึ่งพัฒนาขึ้นห่างจาก[[เหิงช่วน]], [[ไต้หวัน]] เป็นระยะ 115 กิโลเมตร<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6QCeSyEvZ|title=Warning and Summary – June 9, 2014 0600 UTC|date=9 June 2014|accessdate=9 June 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>
*'''วันที่ 10 มิถุนายน''' PAGASA ได้ใช้ชื่อ ''"เอสเตอร์" (Ester)'' ซึ่งมีบางส่วนของระบบพายุทำให้เกิดน้ำท่วมในประเทศ[[ฟิลิปปินส์]]<ref>{{cite web|title=LPA intensifies into "Tropical Depression Ester"|publisher=ANC|accessdate=June 10, 2014|url=https://anc.yahoo.com/news/lpa-intensifies--into--tropical-depression-ester--035230552.html}}</ref><ref>{{cite web|title=LPA intensifies into tropical depression ‘Ester’|publisher=Nestor Corrales|http://newsinfo.inquirer.net/610006/lpa-intensifies-into-tropical-depression-ester|accessdate=June 10, 2014}}</ref>
*'''วันที่ 10 มิถุนายน''' JMA ได้เพิ่มความรุนแรงพายุดีเปรสชันเขตร้อน เป็นพายุโซนร้อน และใช้ชื่อ '''"มิแทก"'''<ref>{{cite web|title=Tropical Storm Mitag Forms South of Okinawa|url=http://www.westernpacificweather.com/2014/06/11/tropical-storm-mitag-forms-south-of-okinawa/|accessdate=June 11, 2014|publisher=Robert Speta}}</ref> ในขณะเดียวกัน [[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น|JTWC]] ได้จัดระดับพายุนี้อยู่ในสถานะ กึ่งเขตร้อน<ref>{{cite web|title=Significant Tropical Weather Outlook for the Western and South Pacific Ocean June 11, 2014 0615z|url=http://www.usno.navy.mil/NOOC/nmfc-ph/RSS/jtwc/ab/abpwweb.txt|publisher=Joint Typhoon Warning Center|archiveurl=http://web.archive.org/web/20140612183853/http://gwydir.demon.co.uk/advisories/ABPW10-PGTW_201406110600.htm|date=June 11, 2014|archivedate=June 12, 2014|accessdate=June 12, 2014}}</ref>
*'''วันที่ 12 มิถุนายน''' JMA ได้ออกคำแนะนำสำหรับ มิแทก เป็นครั้งสุดท้าย เนื่องจากระบบถูกดูดโดยไซโคลนกึ่งเขตร้อนที่อยู่ทางตอนเหนือของ[[ญี่ปุ่น]]

เนื่องจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่มีกำลังแรงขึ้นจากพายุโซนร้อนมิแทก นำฝนไปตกที่ประเทศฟิลิปปินส์ PAGASA จึงรายงานว่าฤดูฝนเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 10 มิถุนายน<ref>{{cite web|title=It's official: Wet season is here|url=http://newsinfo.inquirer.net/610191/its-official-wet-season-is-here|accessdate=June 10, 2014|publisher=Jeannette Andrade}}</ref><ref>{{cite web|title=Rainy season is here; Signal No. 1 in 3 areas|accessdate=June 10, 2014|url=http://www.abs-cbnnews.com/nation/regions/06/10/14/tropical-depression-ester-ushers-wet-season|publisher=ABS-CBNnews, Dharel Placido}}</ref>
{{clear}}

=== พายุโซนร้อนฮากีบิส ===
{{main|พายุโซนร้อนฮากีบิส (พ.ศ. 2557)}}
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=13
|Dissipated=18 มิถุนายน
|Image=Hagibis Jun 15 2014 0320Z.jpg
|Track=Hagibis 2014 track.png
|10-min winds=40
|10-min winds(TMD)=35
|1-min winds=45
|Pressure=994
}}
*'''วันที่ 8 มิถุนายน''' คล้ายกับการก่อตัวขึ้นของ ''มิแทก'' มีการไหลเวียนของลมขนาดเล็กพัฒนาขึ้นใน[[ทะเลจีนใต้]]
*'''วันที่ 11 มิถุนายน''' ระบบทวีกำลังแรงขึ้นเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ
*'''วันที่ 13 มิถุนายน''' [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น|JMA]] ได้จัดระดับของพายุเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน และระบบก็เริ่มเลคื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนืออย่างช้า ๆ
*'''วันที่ 14 มิถุนายน''' [[ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น|JTWC]] ได้ออกประกาศ[[การแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน]] เพื่อเตือนถึงพายุดีเปรสชันเขตร้อน หลังจากนั้น JTWC ก็ได้เพิ่มระดับความรุนแรงของพายุเป็นพายุดีเปรสชัน 07W และ JMA ได้เพิ่มระดับความรุนแรงพายุดีเปรสชันเขตร้อนเป็นพายุโซนร้อน และใช้ชื่อ ''"ฮากีบิส"''
*'''วันที่ 15 มิถุนายน''' ฮากีบิส ได้พัดเข้าฝั่งแผ่นดินทางภาคใต้ของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน|จีน]]<ref>{{cite web|url=http://www.chinadaily.com.cn/china/2014-06/15/content_17588650.htm|accessdate=June 15, 2014|title=Tropical storm Hagibis hits Guandong - China}}</ref>
*'''วันที่ 16 มิถุนายน''' ทั้งสองหน่วยงานได้หยุดออกคำเตือนเกี่ยวกับพายุ เนื่องจากหลังจากที่ระบบขึ้นฝั่งแล้ว ได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน ส่วนเศษของพายุที่เหลือได้เคลื่อนตัวต่อไปทางทิศเหนือ
*'''วันที่ 17 มิถุนายน''' เศษที่เหลือของ ฮากีบิส ได้เคลื่อนตัวโค้งไปทางทิศตะวันออก ทำให้ระบบสามารถกลับมาเป็นพายุโซนร้อนได้อีกครั้ง เป็นผลให้ JMA ออกคำแนะนำเกี่ยวกับ ฮากีบิส อีกครั้ง
*'''วันที่ 18 มิถุนายน''' ฮากีบิส เปลี่ยนแปลงสถานะเป็นพายุหมุนกึ่งเขตร้อน
*'''วันที่ 21 มิถุนายน''' เศษที่เหลือของระบบได้ถูกดูดซึมไป จากการพัฒนาของพายุหมุนกึ่งเขตร้อนทางทิศเหนือ

ประมาณ 13,000 คน ได้รับผลกระทบจากพายุ<ref>{{cite web|title=Typhoon Hagibis affects 13,000 in S China|url=http://news.xinhuanet.com/english/china/2014-06/16/c_133410912.htm|accessdate=June 16, 2014}}</ref><ref>{{cite web|title=http://news.xinhuanet.com/english/china/2014-06/16/c_133410912.htm|url=http://zeenews.india.com/news/world/typhoon-hagibis-affects-13-000-in-china_939917.html|accessdate=June 16, 2014}}</ref> ความสูญเสียทางเศรษฐกิจจาก ฮากิบิส ประมาณ 577 ล้านหยวน สองวันต่อมามียอดเพิ่มขึ้นเป็น 675 ล้านหยวน<ref>{{cite web|title=Tropical storm ” Hagibis ” hit 675 million in direct economic losses in Fujian|url=http://www.enews163.com/2014/06/17/tropical-storm-hagibis-hit-675-million-in-direct-economic-losses-in-fujian-16302.html|accessdate=June 17, 2014}}</ref>และรวมไปถึงอีก 131 ล้านดอลลาร์ในวันที่ 20 มิถุนายน<ref>{{cite web|title=Twin Tornadoes, EF-4s, Oh My!: The Week in Severe Weather|url=http://m.propertycasualty360.com/2014/06/20/twin-tornadoes-ef-4s-oh-my-the-week-in-severe-weat|accessdate=June 20, 2014}}</ref> ในวันที่ 19 มิถุนายนรัฐบาลออกรายงานว่าพบผู้เสียชีวิต 11 คนในภูมิภาคที่ได้รับผลทบจากฮากีบิส<ref>{{cite web|url=http://reliefweb.int/report/cambodia/asia-pacific-region-weekly-regional-humanitarian-snapshot-17-23-june-2014|title=Asia Pacific Region: Weekly Regional Humanitarian Snapshot 17 - 23 June 2014|accessdate=June 23, 2014}}</ref>
{{clear}}

=== พายุไต้ฝุ่นนอกูรี (โฟลรีตา) ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=2
|Dissipated=11 กรกฎาคม
|Image=Neoguri 2014-07-07 0455Z.jpg
|Track=Neoguri 2014 track.png
|10-min winds=95
|10-min winds(TMD)=95
|1-min winds=135
|Pressure=930
}}
{{clear}}

=== พายุไต้ฝุ่นรามสูร (เกลนดา) ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=10
|Dissipated=20 กรกฎาคม
|Image=Rammasun Jul 18 2014 0535Z.jpg
|Track=Rammasun 2014 track.png
|10-min winds=90
|10-min winds(TMD)=90
|1-min winds=135
|Pressure=940
}}
{{clear}}

=== พายุไต้ฝุ่นแมตโม (เฮนรี) ===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=16
|Dissipated=25 กรกฎาคม
|Image=Matmo 2014-07-22 0510Z.jpg
|Track=Matmo 2014 track.png
|10-min winds=75
|10-min winds(TMD)=75
|1-min winds=85
|Pressure=960
}}
{{clear}}

===พายุดีเปรสชันเขตร้อน===
{{กล่องข้อมูล ฤดูพายุเฮอร์ริเคน(เล็ก)
|Basin=WPac
|Formed=19
|Dissipated=22 กรกฎาคม
|Image=
|Track=
|Prewinds=<
|10-min winds=30
|10-min winds(TMD)=30
|Pressure=1002<!--TMD-->
}}
{{clear}}

=== พายุอื่น ๆ ===
วันที่ 10 มกราคม JMA รายงานว่าพบพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวทางตะวันตกเฉียงใต้ของ[[ปาเลา]]<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MWgnUBZB|title=Warning and Summary – January 10, 2014 1200 UTC|date=10 January 2014|accessdate=10 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MWhnJGMC|title=Tropical Cyclone Advisory – January 10, 2014 1200 UTC|date=10 January 2014|accessdate=10 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref> ต่อมาในวันที่ 12 มกราคม JMA ได้ประกาศลดระดับความรุนแรงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ ผลของระบบทำให้เกิดแผ่นดินถล่มใน[[มินดาเนา]]<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MZzlEpho|title=Warning and Summary – January 12, 2014 1200 UTC|date=12 January 2014|accessdate=12 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6MZzmI11j|title=Warning and Summary – January 12, 2014 1800 UTC|date=12 January 2014|accessdate=12 January 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref> ช่วงวันที่ 11 มีนาคม [[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]] ได้รายงานว่าพบพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นในระยะ 195 กม. (121 ไมล์) ทางตะวันออกของ[[มาติ (เมือง)|มาติ]], [[ฟิลิปปินส์]]<ref>{{cite web|url=http://www.webcitation.org/6O07MFfXh|title=Warning and Summary – March 11, 2014 0000 UTC|date=11 March 2014|accessdate=11 March 2014|publisher=Japan Meteorological Agency}}</ref>

== รายชื่อพายุ ==
ภายในทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกมีสองหน่วยงานที่ทำงานแยกกันในการกำหนดชื่อพายุ โดยจะมี 2 ชื่อ สำหรับ[[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]] จะมีกำหนดชื่อของพายุหมุนเขตร้อน โดยพายุต้องมีความเร็วลมเฉลี่ย 10 นาทีประมาณ 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.)<ref name="TC">{{cite web|title=Typhoon Committee Operational Manual 2012|url=http://www.wmo.int/pages/prog/www/tcp/documents/TCP-23EDITION2012.pdf|archiveurl=http://www.webcitation.org/6AFsQCYxB|publisher=World Meteorological Organization|archivedate=August 28, 2012|pages=37–38|format=PDF|date=February 21, 2012|author=the Typhoon Committee}}</ref> ทางทิศเหนือของเส้นศูนย์สูตรระหว่าง 180° และ 100°ตะวันออก ขณะที่[[สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์]] (PAGASA) จะกำหนดชื่อให้กับพายุเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเองระหว่าง 135°ตะวันออกและ 115°ตะวันออก และระหว่าง 5°ตะวันออก ถึง 25°ตะวันออก

=== ชื่อสากล ===
{{บทความหลัก|การตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อน}}
พายุหมุนเขตร้อนที่มีชื่อจากรายการต่อไปนี้ โดย[[สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]] จะเป็นผู้ตรวจสอบและประกาศใช้รายชื่อต่อไปนี้<ref name="Padgett Dec 99">{{Cite web|title=Monthly Tropical Cyclone summary December 1999|accessdate=2008-04-20|publisher=Australian Severe Weather|author=Gary Padgett|url=http://www.australiasevereweather.com/cyclones/2000/summ9912.htm| archiveurl= http://web.archive.org/web/20080517145245/http://www.australiasevereweather.com/cyclones/2000/summ9912.htm| archivedate= 17 May 2008 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref> เป็นชื่อที่สนับสนุนโดย คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก ([[ESCAP]])/[[องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก]] (WMO) โดยมี 14 ประเทศสมาชิกเสนอชื่อเรียงตามลำดับในภาษาอังกฤษ<ref name="JMA Names">{{Cite web|title=Tropical Cyclone names|accessdate=2008-04-20|publisher=JMA|url=http://www.jma.go.jp/jma/jma-eng/jma-center/rsmc-hp-pub-eg/tyname.html| archiveurl= http://web.archive.org/web/20080402004254/http://www.jma.go.jp/jma/jma-eng/jma-center/rsmc-hp-pub-eg/tyname.html| archivedate= 2 April 2008 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref> ชื่อที่ยังไม่ถูกใช้จะถูกทำเป็น {{tcname unused}} โดยชื่อลำดับต่อไปที่จะถูกใช้คือ "หะลอง"<!--ชื่อต่อไปนี้เรียงลำดับตามรายชื่อพายุสากลในอนาคตตามลำดับของสดมภ์รายชื่อ-->
{| style="width:100%;"
|
'''ชุดที่ 2'''
*เหล่งเหลง (1401)
*คาจิกิ (1402)
*ฟ้าใส (1403)
*เผ่ย์ผ่า (1404)
*ตาปะฮ์ (1405)
*มิแทก (1406)
|
*ฮากีบิส (1407)
*นอกูรี (1408)
*รามสูร (1409)
*แมตโม (1410)
*{{tcname unused|หะลอง}}
|
'''ชุดที่ 3'''
*{{tcname unused|นากรี}}
*{{tcname unused|เฟิงเฉิน}}
*{{tcname unused|คัลแมกี}}
*{{tcname unused|ฟงวอง}}
*{{tcname unused|คัมมูริ}}
*{{tcname unused|ฟานทอง}}
|
*{{tcname unused|หว่องฟ้ง}}
*{{tcname unused|นูรี}}
*{{tcname unused|ซินลากู}}
*{{tcname unused|ฮากูปิต}}
*{{tcname unused|ชังมี}}
*{{tcname unused|เมขลา}}
|
*{{tcname unused|ฮีโกส}}
*{{tcname unused|บาหวี่}}
|}

=== ฟิลิปปินส์ ===
[[สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์]] (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน โดยรายชื่อของพายุที่จะใช้ในแต่ละปีจะถูกตั้งและประกาศก่อนที่ฤดูการจะเริ่มขึ้น โดยหากชื่อเหล่านี้มีชื่อใดที่ไม่ได้ถูกปลดจะถูกนำกลับมาใช้ใหม่ในปี ค.ศ. 2017 โดยรายการที่ได้ใช้ในปีนี้เหมือนกันกับเมื่อปี ค.ศ. 2009 <ref name="PAGASA Names">{{Cite web|title=Philippine Tropical cyclone names|date=2010-09-22|author=Staff Writer|accessdate=2010-09-23|publisher=Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services. Administration|url=http://www.webcitation.org/5sxZr5xi3}}</ref>โดยชื่อที่ยังไม่ถูกใช้จะถูกทำเป็น {{tcname unused}} โดยชื่อลำดับต่อไปที่จะถูกใช้คือ "อินไดย์" (Inday)<!--รายชื่อเหล่านี้กำหนดโดยPAGASA-->
{| width="100%"
|
*อากาตอน (Agaton) (1401)
*บาชัง (Basyang) (1402)
*กาโลย (Caloy)
*โดเมง (Domeng) (1404)
*เอสเตอร์ (Ester) (1406)
|
*โฟลรีตา (Florita) (1408)
*เกลนดา (Glenda) (1409)
*เฮนรี (Henry) (1410)
*{{tcname unused|อินไดย์ (Inday)}}
*{{tcname unused|โฮเซ (Jose)}}
|
*{{tcname unused|กาโนร์ (Kanor)}}
*{{tcname unused|ลุยส์ (Luis)}}
*{{tcname unused|มารีโอ (Mario)}}
*{{tcname unused|เนเนง (Neneng)}}
*{{tcname unused|ออมปอง (Ompong)}}
|
*{{tcname unused|ปาเอง (Paeng)}}
*{{tcname unused|ควีนนี (Queenie)}}
*{{tcname unused|รูบี (Ruby)}}
*{{tcname unused|เซเนียง (Seniang)}}
*{{tcname unused|โตมัส (Tomas)}}
|
*{{tcname unused|อุสมัน (Usman)}}
*{{tcname unused|วีนัส (Venus)}}
*{{tcname unused|วัลโด (Waldo)}}
*{{tcname unused|ยายัง (Yayang)}}
*{{tcname unused|เซนี (Zeny)}}
|}
{| style="width:90%;"
<center>
'''พายุเพิ่มเติม'''<br>
</center>
|
*{{tcname unused|อากีลา (Agila)}}
*{{tcname unused|บากวิส (Bagwis)}}
|
*{{tcname unused|ชีโต (Chito)}}
*{{tcname unused|เดียโก (Diego)}}
|
*{{tcname unused|เอเลนา (Elena)}}
*{{tcname unused|เฟลีโน (Felino)}}
|
*{{tcname unused|กุนดิง (Gunding)}}
*{{tcname unused|แฮร์เรียต (Harriet)}}
|
*{{tcname unused|อินดัง (Indang)}}
*{{tcname unused|เจสซา (Jessa)}}
|}

== ผลกระทบ ==
ตารางนี้แสดงรายการพายุทั้งหมดที่เกิดขึ้นทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกไปถึง[[เส้นแบ่งเขตวันสากล]] ในช่วงปี พ.ศ. 2557 ซึ่งจะระบุชื่อของพายุ, วันที่พายุเริ่มก่อตัว, ความรุนแรง, ข้อมูลพื้นฐานของพายุ, พื้นที่ได้รับผลกระทบ และความเสียหายที่เกิดจากพายุ โดยตัวเลขที่แสดงความเสียหายจะถูกระบุเป็นค่าเงิน[[ดอลลาร์สหรัฐ]] ปี ค.ศ. 2014 และความเสียหาย การสูญเสียจากพายุ จะนับตั้งแต่พายุเริ่มรวมตัวจนถึงพายุถึงความรุนแรงสูงสุด
<!--{|class="wikitable sortable"
! ชื่อพายุ !! วันที่เกิด !! ระดับความรุนแรง !! ลมเฉลี่ย<br>สูงสุด 10 นาที !! ความกดอากาศ<br>เฮกโตปาสกาล <small>(hPa)</small>!! พื้นที่ได้รับผลกระทบ !! ความเสียหาย !! เสียชีวิต !! class="unsortable"|อ้างอิง
|--->
{{Pacific areas affected (Top)}}
|-
| '''พายุดีเปรสชันเขตร้อน''' || {{Sort|01|10&nbsp;– 12 มกราคม}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|0|พายุดีเปรสชันเขตร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|055|55&nbsp;กม./ชม. (35&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|1004|1004&nbsp;hPa (29.65&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์ || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
| '''เหล่งเหลง<br>(อากาตอน)''' || {{Sort|01|10&nbsp;– 21 มกราคม}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|0|พายุโซนร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|065|65&nbsp;กม./ชม. (40&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|1002|1002&nbsp;hPa (29.59&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|ปาเลา}} ปาเลา<br>{{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์ || {{ntsp|12500000||}}ดอลลาร์สหรัฐ || {{nts|70}} || <ref name=NDRRMC-Agaton/>
|-
| '''คะจิกิ<br>(บาชัง)''' || {{Sort|02|29 มกราคม&nbsp;– 1 กุมภาพันธ์}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|1|พายุโซนร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|065|65&nbsp;กม./ชม. (40&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|1000|1000&nbsp;hPa (29.53&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|ไมโครนีเซีย}} แยป<br>{{flagicon|ปาเลา}} ปาเลา<br>{{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์ || {{ntsh|0}} น้อย || {{nts|6}} || <ref>{{cite web|url=http://www.ndrrmc.gov.ph/attachments/article/1143/UPD%20re%20SitRep%209%20Effects%20TS%20Basyang%20%2806FEB2014%29.pdf|title=SitRep No. 9 – Effects of Tropical Storm Basyang|date=6 February 2014|accessdate=6 February 2014|publisher=National Disaster Risk Reduction and Management Council}}</ref>
|-
| '''ฟ้าใส''' || {{Sort|04|26 กุมภาพันธ์&nbsp;– 6 มีนาคม}} || bgcolor=#{{storm colour|TY}}|{{Sort|3|พายุไต้ฝุ่น}} || bgcolor=#{{storm colour|TY}}|{{Sort|120|120&nbsp;กม./ชม. (75&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TY}}|{{Sort|0975|975&nbsp;hPa (28.79&nbsp;นิ้วปรอท)}} || หมู่เกาะคาโรไลน์<br>{{flagicon|หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา}} มาเรียนา || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
| '''ดีเปรสชันเขตร้อน''' || {{Sort|05|11&nbsp;– 12 มีนาคม}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|0|พายุดีเปรสชันเขตร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|045|ไม่ได้ระบุ}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|1008|1008&nbsp;hPa (29.77&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์<br>{{flagicon|อินโดนีเซีย}} อินโดนีเซีย || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
| '''04W<br>(กาโลย)''' || {{Sort|06|18&nbsp;– 24 มีนาคม}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|0|พายุดีเปรสชันเขตร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|055|ไม่ได้ระบุ}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|1004|1004&nbsp;hPa (29.65&nbsp;นิ้วปรอท)}} || หมู่เกาะคาโรไลน์<br>{{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์ || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
| '''เผ่ย์ผ่า<br>(โดเมง)''' || {{Sort|07|2 – 15 เมษายน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|1|พายุโซนร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|065|65&nbsp;กม./ชม. (40&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|0998|998&nbsp;hPa (29.47&nbsp;นิ้วปรอท)}} || หมู่เกาะคาโรไลน์<br>{{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์ || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
|-
| '''ดีเปรสชันเขตร้อน''' || {{Sort|08|19 – 21 เมษายน}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|0|พายุดีเปรสชันเขตร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|045|ไม่ได้ระบุ}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|1004|1004&nbsp;hPa (29.65&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|กวม}} กวม<br>{{flagicon|ปาเลา}} ปาเลา|| {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
| '''ตาปะฮ์''' || {{Sort|10|27 เมษายน&nbsp;– 2 พฤษภาคม}} || bgcolor=#{{storm colour|STS}}|{{Sort|2|พายุโซนร้อนกำลังแรง}} || bgcolor=#{{storm colour|STS}}|{{Sort|095|95&nbsp;กม./ชม. (60&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|STS}}|{{Sort|0985|985&nbsp;hPa (29.09&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา}} มาเรียนา || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
| '''มิแทก (เอสเตอร์)''' || {{Sort|11|9&nbsp;– 12 มิถุนายน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|1|พายุโซนร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|075|75&nbsp;กม./ชม. (45&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|0994|994&nbsp;hPa (29.35&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์<br>{{flagicon|ไต้หวัน}} ไต้หวัน<br>{{flagicon|ญี่ปุ่น}} ญี่ปุ่น || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
| '''ฮากีบิส'''|| {{Sort|12|13&nbsp;– 18 มิถุนายน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|1|พายุโซนร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|075|75&nbsp;กม./ชม. (45&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TS}}|{{Sort|0994|994&nbsp;hPa (29.35&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์<br>{{flagicon|จีน}} จีน<br>{{flagicon|ไต้หวัน}} ไต้หวัน<br>{{flagicon|ญี่ปุ่น}} ญี่ปุ่น || {{ntsp|131000000||}}ดอลลาร์สหรัฐ || {{nts|11}} ||
|-
| '''นอกูรี (โฟลรีตา)''' || {{Sort|13|2&nbsp;– 11 กรกฎาคม}} || bgcolor=#{{storm colour|typhoon}}|{{Sort|3|พายุไต้ฝุ่น}} || bgcolor=#{{storm colour|typhoon}}|{{Sort|175|175&nbsp;กม./ชม. (110&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|typhoon}}|{{Sort|0930|930&nbsp;hPa (27.46&nbsp;นิ้วปรอท)}} || หมู่เกาะคาโรไลน์<br>{{flagicon|กวม}} กวม<br>{{flagicon|ญี่ปุ่น}} ญี่ปุ่น || {{ntsh|0}} ปานกลาง || {{nts|7}} ||
|-
| '''รามสูร (เกลนดา)''' || {{Sort|14|10 – 20 กรกฎาคม}} || bgcolor=#{{storm colour|TY}}|{{Sort|3|พายุไต้ฝุ่น}} || bgcolor=#{{storm colour|TY}}|{{Sort|165|165&nbsp;กม./ชม. (105&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|TY}}|{{Sort|0940|940&nbsp;hPa (27.76&nbsp;นิ้วปรอท)}} || หมู่เกาะคาโรไลน์<br>{{flagicon|กวม}} กวม<br>{{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์<br>{{flagicon|จีน}} จีน<br>{{flagicon|เวียดนาม}} เวียดนาม|| {{ntsp|6410000000||}}ดอลลาร์สหรัฐ || {{ntsh|181}} 181 ||<ref>{{cite web|title=NDRRMC Update SitRep No. 21 re Typhoon GLENDA (RAMMASUN)|url=http://www.ndrrmc.gov.ph/attachments/article/1234/UPDATES%20ON%20TY%20GLENDA%2023%20JUL%202014%206AM.pdf|accessdate=July 23, 2014}}</ref><ref>[http://news.xinhuanet.com/english/china/2014-07/23/c_133505049.htm Typhoon Rammasun claims 56 lives in China]</ref><ref>[http://www.themalaymailonline.com/world/article/typhoon-rammasun-kills-27-in-vietnam Typhoon Rammasun kills 27 in Vietnam]</ref>
|-
| '''แมตโม (เฮนรี)''' || {{Sort|15|16 กรกฎาคม&nbsp;– ปัจจุบัน}} || bgcolor=#{{storm colour|typhoon}}|{{Sort|3|พายุไต้ฝุ่น}} || bgcolor=#{{storm colour|typhoon}}|{{Sort|140|140&nbsp;กม./ชม. (85&nbsp;ไมล์/ชม.)}} || bgcolor=#{{storm colour|typhoon}}|{{Sort|0960|960&nbsp;hPa (28.35&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|ปาเลา}} ปาเลา<br>{{flagicon|ฟิลิปปินส์}} ฟิลิปปินส์<br>{{flagicon|ไต้หวัน}} ไต้หวัน<br>{{flagicon|จีน}} จีน || {{ntsp|136000000||}}ดอลลาร์สหรัฐ || {{nts|51}} || <ref>{{cite web|title=Typhoon Matmo slams into Taiwan, one killed, some damage reported|url=http://in.reuters.com/article/2014/07/23/us-taiwan-typhoon-idINKBN0FS03B20140723|accessdate=July 23, 2014}}</ref><ref name="PlaneCrash">{{cite web|publisher=The Guardian|date=July 24, 2014|accessdate=July 24, 2014|title=Taiwan: 48 dead in TransAsia Airways plane crash|url=http://www.theguardian.com/world/2014/jul/23/taiwan-transasia-airways-plane-crash-penghu-island-typhoon-matmo|location=Taipei, Taiwan}}</ref><ref>{{cite web|title=Typhoon Matmo leaves 13 injuries, no fatalities|url=http://www.chinapost.com.tw/taiwan/national/national-news/2014/07/24/413138/Typhoon-Matmo.htm|accessdate=July 24, 2014|publisher=Joy Lee}}</ref><ref name="DualTyphoons">{{cite web|url=http://news.xinhuanet.com/english/china/2014-07/25/c_133510929.htm|title=Dual typhoons kill 64 in China|accessdate=July 25, 2014}}</ref>
|-
| '''พายุดีเปรสชันเขตร้อน''' || {{Sort|16|19&nbsp;– 22 กรกฎาคม}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|0|พายุดีเปรสชันเขตร้อน}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|045|ไม่ได้ระบุ}} || bgcolor=#{{storm colour|TD}}|{{Sort|1006|1006&nbsp;hPa (29.71&nbsp;นิ้วปรอท)}} || {{flagicon|กวม}} กวม || {{ntsh|0}} ไม่มี || {{ntsh|0}} ไม่มี ||
|-
{{TC Areas affected (Bottom)|TC's=16&nbsp;ลูก|dates=10 มกราคม&nbsp;– ปัจจุบัน|winds=175&nbsp;กม./ชม. (110&nbsp;ไมล์/ชม.)|pres=930&nbsp;hPa (27.46&nbsp;นิ้วปรอท)|damage={{ntsp|6946000000||}}ดอลลาร์สหรัฐ |deaths=333|Refs=}}

== ดูเพิ่ม ==
*[[รายชื่อฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก]]
*[[ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2557]]
*[[ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2557]]
*[[ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2557]]
*ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้: [[ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2555–2556|2555–2556]], [[ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2556–2557|2556–2557]]
*ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย: [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2555-2556|2555-2556]], [[ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2556-2557|2556-2557]]
*ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรแปซิฟิกใต้: [[ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2555-2556|2555-2556]], [[ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2556-2557|2556-2557]]

== แหล่งอ้างอิงภายนอกและหน่วยงานอุตุนิยมวิทยาในภูมิภาค ==
{{Commons category|2014 Pacific typhoon season|ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557}}
*[http://www.jma.go.jp/en/typh/ สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]
*[http://www.typhoon.gov.cn/en/index.php?style1=0 สำนักงานอุตุนิยมวิทยาจีน]
*[http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/ ดิจิทัลไต้ฝุ่น]
*[http://www.hko.gov.hk/contente.htm หอสังเกตการณ์ฮ่องกง]
*[http://www.usno.navy.mil/JTWC ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น]
*[http://web.kma.go.kr/eng/weather/typoon/typhoon.jsp สำนักบริหารอุตุนิยมวิทยาเกาหลี]
*[http://www.prh.noaa.gov/guam/cyclone.php ศูนย์บริการสภาพอากาศแห่งชาติกวม]
*[http://www.met.gov.my/index.php?option=com_content&task=view&id=1328&Itemid=565 กรมอุตุนิยมวิทยามาเลเซีย]
*[http://www.pagasa.dost.gov.ph/ PAGASA]
*[http://www.cwb.gov.tw/V7e/prevent/typhoon/ty.htm? สำนักสภาพอากาศกลางไต้หวัน]
*[http://meteo.bmkg.go.id/siklon TCWC จาการ์ตา]
*[http://www.tmd.go.th/en/storm_tracking.php กรมอุตุนิยมวิทยาไทย]
*[http://www.typhoon2000.ph ไต้ฝุ่น2000]
*[http://www.nchmf.gov.vn/web/en-US/43/Default.aspx สำนักบริการพลังงานอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติเวียดนาม]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}

[[หมวดหมู่:ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก|2557]]
[[หมวดหมู่:ภัยธรรมชาติในปี พ.ศ. 2557]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:09, 25 กรกฎาคม 2557

Dot Com Bubble ไทย ลาว เขมร