พระยาวิชิตชลธาร (หม่อมหลวงเวศร์ กุญชร)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มหาเสวกตรี พระยาวิชิตชลธาร (หม่อมหลวงเวศร์ กุญชร) (14 ธันวาคม 2431 - 20 ธันวาคม 2475[1]) ขุนนางชาวไทย อดีตเจ้ากรมเรือยนต์หลวง อดีตองคมนตรีในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ประวัติ[แก้]

พระยาวิชิตชลธาร เกิดเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ปี พ.ศ. 2431 เป็นบุตรชายของ เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) กับ หม่อมวัน กุญชร ณ อยุธยา

รับราชการ[แก้]

รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น หลวงวิเศษสาลี ถือศักดินา ๖๐๐ เมื่อวันที่ 16 เมษายน ปี พ.ศ. 2451[2] จากนั้นในวันที่ 10 กรกฎาคม ปีเดียวกัน หลวงวิเศษสาลี ได้กราบถวายบังคมลาอุปสมบทที่ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร[3]

จากนั้นจึงได้โอนย้ายมารับราชการในกรมมหาดเล็กโดยได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น หลวงวิเศษพจนกรณ์ พร้อมกับรับตำแหน่ง เสมียนตรากรมมหาดเล็ก เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2455 ต่อมาได้รับพระราชทานเลื่อนยศเป็น จ่า เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม ปี พ.ศ. 2456

ยศ บรรดาศักดิ์ ตำแหน่ง[แก้]

  • 16 เมษายน พ.ศ. 2451 - หลวงวิเศษสาลี ถือศักดินา ๖๐๐
  • 25 สิงหาคม พ.ศ. 2454 - นายหมู่ตรี[4]
  • 16 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - นายหมู่โท[5]
  • 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2455 - หลวงวิเศษพจนกรณ์ คงถือศักดินา ๖๐๐ พร้อมตำแหน่ง เสมียนตรากรมมหาดเล็ก[6]
  • 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 - นายหมู่เอก[7]
  • 30 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - จ่า[8]
  • 21 กุมภาพันธ์ 2456 – นายหมู่ใหญ่[9]
  • 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - พระวิเศษพจนกรณ์ คงถือศักดินา ๖๐๐[10]
  • 12 พฤศจิกายน 2457 – นายเวร[11]
  • ธันวาคม 2457 – นายหมวดเอก[12]
  • 6 กุมภาพันธ์ 2457 – นายกองตรี ผู้บังคับกองพาหนะหลวง[13]
  • 14 กันยายน พ.ศ. 2458 - เจ้ากรมเรือยนต์หลวง[14]
  • 18 กันยายน พ.ศ. 2458 - พระผ่านนทีว่อง คงถือศักดินา ๖๐๐[15]
  • 19 ตุลาคม 2459 – หัวหมื่น[16]
  • 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459 - พระวิชิตชลธาร ถือศักดินา ๘๐๐[17]
  • 26 กุมภาพันธ์ 2459 – ราชองครักษ์เวร[18]
  • 31 ธันวาคม 2460 – พระยาวิชิตชลธาร เจ้ากรมเรือยนต์หลวง ถือศักดินา 1600[19]
  • 13 มีนาคม 2460 – นายนาวาโท ราชนาวีเสือป่า[20]
  • 13 มีนาคม 2460 – ราชองครักษ์เวร[21]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ข่าวตาย (หน้า ๓๔๕๑)
  2. พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง
  3. ข้าราชการกราบถวายบังคมลาอุปสมบท
  4. พระราชทานสัญญาบัตรกองเสือป่า
  5. พระราชทานสัญญาบัตรเสือป่า (หน้า ๒๐๘๐)
  6. พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์
  7. พระราชทานสัญญาบัตรเสือป่า
  8. แจ้งความกรมมหาดเล็ก
  9. พระราชทานสัญญาบัตรเสือป่า
  10. พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์ (หน้า ๑๘๗๒)
  11. พระราชทานเลื่อนยศ
  12. ประกาศเลื่อนยศเสือป่า
  13. ประกาศเลื่อนยศเสือป่ากองพลหลวง
  14. แจ้งความกรมมหาดเล็ก เปลี่ยนและย้ายตำแหน่งหน้าที่ราชการ
  15. พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์ (หน้า ๑๓๗๘)
  16. พระราชทานยศ
  17. พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์
  18. แจ้งความกรมราชองครักษ์
  19. พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์
  20. พระราชทานยศเสือป่า
  21. แจ้งความกรมราชองครักษ์ เรื่อง ตั้งนายเสือป่าเป็นราชองครักษ์เวร
  22. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฝ่ายใน, เล่ม ๔๐ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๔๗๖, ๗ มกราคม ๒๔๖๖
  23. ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวในพระราชสำนัก วันอังคารที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๖๗, เล่ม ๓๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๖๒๘, ๒๓ พฤศจิกายน ๒๔๖๗
  24. ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวในพระราชสำนัก วันพฤหัสบดีที่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๒, เล่ม ๓๖ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๐๖๑, ๑๑ มกราคม ๒๔๖๒
  25. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานตราวชิรมาลา, เล่ม ๓๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๖, ๑๑ เมษายน ๒๔๕๘
  26. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลปัจจุบันฝ่ายหน้า, เล่ม ๓๐ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๐๕๑, ๒๔ สิงหาคม ๒๔๕๖
  27. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญราชรุจิ, เล่ม ๓๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๙๓๒, ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๕๗