ผู้ใช้:Ssirithan/กระบะทราย1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ครั้งที่สอง จัดขึ้นระหว่างวันที่ 2-24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 และเนื่องจากเส้นทางการแข่งขันที่คล้ายคลึงกบการแข่งขันครั้งก่อนหน้า (การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2446 (1903 Tour de France)) ทำให้ดูเหมือนว่า โมรีซ กาแรง (Maurice Garin) แชมป์เก่าจากสนามที่แล้วน่าจะคว้าชัยชนะไปครองด้วยการทำเวลานำ Lucien Pothier ในขณะที่ Hippolyte Aucouturier คว้าชัยชนะจำนวน 4 สเตจ จากทั้งหมด 6 สเตจ แต่การแข่งขันนี้ก็ได้ตกเป็นเหยื่อของความสำเร็จของตัวเองจากเรื่องอื้อฉาวว่า ผู้เข้าแข่งขันได้ขึ้นรถไฟระหว่างการแข่งขัน [1] ผู้เข้าแข่งขันจำนวน 12 ราย รวมถึง 4 รายแรกซึ่งเป็นผู้นำในประเภท classification และเป็นผู้ชนะในหลายสเตจ ถูกตัดสิทธิ์โดย Union Vélocipédique Française (UVF) Henri Cornet ซึ่งแต่เดิมเป็นผู้ชนะลำดับที่ห้า ได้รับการประกาศให้เป็นผู้ชนะภายหลังจากการแข่งขันจบลง 4 เดือน [2] ปัญหาดังกล่าวทำให้การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ต้องถูกยกเลิกการจัดลง และในปี พ.ศ. 2448 (1905 Tour de France) ได้กำหนดกฎเกณฑ์ขึ้นมาใหม่ซึ่งแตกต่างจาก พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) และ พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904)

ที่มา[แก้]

การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2446 (Tour de France of 1903) ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก จึงทำให้ตัดสินใจจัดการแข่งขันขึ้นอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2447 โดยเส้นทางการแข่งขันถูกแบ่งเป็น 6 สเตจ และใช้กฎเดียวกับปี พ.ศ. 2446 ยกเว้นข้อเดียวคือ ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 6 สเตจ ไม่สามารถเข้าร่วมเพียงสเตจใดสเตจหนึ่งได้ ผู้ชนะการแข่งขันยังคงเป็น กาแรง Pothier และ Aucouturier ซึ่งทำผลงานได้ดีในการแข่งขันปีที่ผ่านมา [3][4] ในบรรดาผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด Henri Paret ซึ่งอายุ 50 ปี ยังคงครองตำแหน่งผู้เข้าแข่งขันที่มีอายุมากที่สุดของรายการนี้ [5]

การแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2446 คณะกรรมการจัดงานการันตีว่า ผู้เข้าแข่งขันที่ทำเวลารวมได้ดีที่สุด 50 รายแรกจะได้รับเงินอย่างน้อย 5 ฟรังค์ ต่อวัน แต่ในการแข่งขัน ปี 2447 แม้ว่าผุ้เข้าแข่งขันจะเข้าเส้นชัยไม่ถึง 50 ราย รวมทั้งผู้เข้าแข่งขันที่ล้มเลิกระหว่างทางก็จะยังคงได้รับเงิน 5 ฟรังค์ต่อวัน สำหรับจำนวนวันที่พวกเขาเข้าแข่งขัน ซึ่งกฎใหม่ดังกล่าวนี้ได้เพิ่มขึ้นเพื่อดึงดูดให้มีผู้เข้าร่วมแข่งขันจำนวนมากเพียงพอเพื่อให้การแข่งขันดำเนินต่อไปได้ [6]

รายละเอียดการแข่งขัน[แก้]

A man with a hat on a bicycle.
Maurice Garin, initially declared winner of the 1904 Tour de France.

ในการแข่งขันสเตจแรก นักปั่นหลายรายล้มลงหลังจากผ่านไปได้เพียงสองสามกิโลเมตรแรก Lipman นิ้วหักและเป็นนักปั่นรายแรกที่ออกจากการแข่งขันไป และที่ระยะทางประมาณกิโลเมตรที่ 100 Lucien Pothier ตามหลังกลุ่มหลักที่มีโมรีซ กาแรง เป็นผู้นำอยู่ถึง 10 นาทีเนื่องจากจักรยานเสีย [7] ในเมือง Cosne ที่กิโลเมตรที่ 174 Pothier สามารถตามเกาะติดกลุ่มนักปั่นที่นำอยู่ได้สำเร็จ ในขณะที่ Aucouturier ยังตามหลังอยู่มากกว่า 1 ชั่วโมง Aucouturier ล้มลงหน้ากระแทกก่อนจะถึงจุด control post ในเมือง Nevers แต่ยังคงแข่งขันต่อไปทั้งที่เลือดยังคงไหลอยู่ โมรีซ กาแรง และ Lucien Pothier ปั่นออกห่างจากคนอื่น ๆ ทั้งสองถูกชนโดยรถยนต์ซึ่งมีชายสี่คนสวมหน้ากากนั่งอยู่บนรถ [1] แต่ทั้งสองก็เข้าเส้นชัยเป็นสองอันดับแรก โดยกาแรงนำหน้า Pothier อยู่ 50 เมตร [8] อุบัติเหตุพลาดล้มและยางที่แบนหลายครั้ง ราวกับจะเป็นอุบัติเหตุที่เกิดจากการก่อกวน จนทำให้ Aucouturier ทำเวลาช้าไปหลายชั่วโมง [4]

หลังจบสเตจ นักปั่นสามรายถูกลงโทษ โดย Aucouturier ถูกปรับเป็นเงิน 500 ฟรังค์ เนื่องจากมีนักปั่นจักรยานซึ่งไม่ได้เข้าแข่งขันติดตามเขาไป และ Samson ถูกปรับ 250 ฟรังค์ จากการขี่โดยอาศัยแรงลมจากรถยนต์เพื่อให้ทำความเร็วได้มากขึ้น [9] Chevallier ซึ่งเข้าเส้นชัยเป็นอันดับที่สาม ถูกตัดออกจากการแข่งขันเนื่องจากพักในรถยนต์ถึง 45 นาที [10] นอกจากนี้ ในระหว่างเสตจการแข่งขัน Ferdinand Payan ก็ถูกตัดออกจากการแข่งขันด้วย [3] โดยแหล่งข่าวบางแห่งอ้างว่าเพราะเขาใช้เครื่องยนต์เข้ามาช่วยในการแข่งขัน [11] other that he was helped by riders not in the race.[4] In that first stage, Garin had asked the race official Lefèvre for food, which was illegal. Lefèvre, who knew that Garin was the star of the race, broke the rules and gave him the food, because he did not want to be responsible for Garin leaving the race because of hunger.[4] The news that Garin had received illegal help quickly spread, and caused the fanatical crowd to take action.[4]

For the second stage, the organisers had made the option to postpone the start by two hours, in case the mistral wind was making cycling difficult. This was not necessary, so the riders started at midnight as planned.[12] During this stage, Antoine Fauré lead close to his hometown, and 200 fans tried to stop the rest of the cyclists from following him. Garin hurt his hand during the incident, and Giovanni Gerbi was knocked unconscious, and had to give up with broken fingers.[4] The situation was only solved after race officials fired shots in the air.[1] Further on, nails and broken glass had been spread along the road, which caused many flat tires.[13] Because of this help, Fauré was the first on top of the Col de la République, but was taken over by the favourites later. Aucouturier won the sprint.[14] When the riders reached Marseille, they complained that there had been too many incidents in this stage, and the stage results should be cancelled. In the last part, they had been stopped by a large group of cyclists. Maurice Garin had been attacked, and his arm had been injured: he finished the stage steering with only one hand. There was so much confusion at the last controle post, that the exact arrival times of the cyclists were not recorded.[13]

In the third stage, the Tour reached Nîmes, near the home town of Payan, whose fans were angry because of his disqualification. They threw rocks at the riders,[1] and barricaded the road.[4] The cyclists had troubles passing through Nîmes, and several were injured. The most important event for the general classification was when César Garin's bicycle was broken by attackers; he had to find a new bicycle, which took him 15 minutes. Further on, nails and broken glass were spread along the road. Many riders punctured, but there were no serious falls. The cyclists passed this part walking. After Nîmes, a leading group of five cyclists was formed: Maurice Garin, Pothier, Aucouturier, Cornet and Beaugendre. Aucouturier and Cornet escaped, and Aucouturier won, beating Cornet in the sprint.[3][15][16]

The fourth stage was run without the incidents that plagued the first three stages.[17] Pothier, Maurice and César Garin and Beaugendre reached Bordeaux together, and the stage was decided by the final kilometre in the velodrome, where Pothier recorded the fastest time.

In the fifth stage, nails on the road again causing punctures. As mechanical assistance was not allowed, Cornet had to ride the last 40 km on two flat tires.[1] Aucouturier won this stage, his third one, but was way behind in the general classification, which Garin lead, with only 28 seconds margin to Pothier.[18]

In the sixth stage, Aucouturier, Garin and Dortignac escaped in the last kilometres. Aucouturier signed first at the control post in Ville-d'Avray. From that point, the race was neutralised until the velodrome Parc-des-Princes, where the riders would ride the final kilometre. At the moment that the riders arrived in Paris, it started to rain. The organisers decided together with the cyclists to exclude the final kilometre from the race, and make the control post in Ville-d'Avray the end of the race. This made Aucouturier the winner of the stage.[19] Maurice Garin finished second, which made him the overall winner.[3] แม่แบบ:Clearright

ผลการแข่งขันก่อนการตัดสิทธิ์[แก้]

โมรีซ กาแรง เป็นผู้ชนะของรายการนี้ โดยทำเวลานำตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงเส้นชัย [4] Hippolyte Aucouturier เป็นผู้ชนะถึง 4 สเตจ โดยรวมของการแข่งขัน มีนักปั่นจักรยานทั้งหมด 27 รายที่แข่งขันจนจบรายการ [20] สำหรับนักปั่นแต่ละราย เวลาที่ทำได้ในแต่ละสเตจจะถูกนับรวมเข้าไปในเวลารวมของการแข่งขันประเภท general classification โดยนักปั่นที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุดหลังจบสเตจสุดท้ายจะเป็นผู้ชนะ

ผลการแข่งขันในแต่ละสเตจก่อนการตัดสิทธิ์[20]
สเตจ วันที่ เส้นทาง ภูมิศาสตร์ ระยะทาง ผู้ชนะ ผู้นำ
1 2 กรกฎาคม MontgeronLyon Plain stage ทางเรียบ 467 km (290 mi)  Maurice Garin (FRA)  Maurice Garin (FRA)
2 9 กรกฎาคม Lyon–Marseille Stage with mountain สเตจที่มีภูเขา 374 km (232 mi)  Hippolyte Aucouturier (FRA)  Maurice Garin (FRA)
3 13 กรกฎาคม Marseille–Toulouse Plain stage ทางเรียบ 424 km (263 mi)  Hippolyte Aucouturier (FRA)  Maurice Garin (FRA)
4 17 กรกฎาคม Toulouse–Bordeaux Plain stage ทางเรียบ 268 km (167 mi)  Lucien Pothier (FRA)  Maurice Garin (FRA)
5 20 กรกฎาคม Bordeaux–Nantes Plain stage ทางเรียบ 425 km (264 mi)  Hippolyte Aucouturier (FRA)  Maurice Garin (FRA)
6 23 กรกฎาคม Nantes–Paris Plain stage ทางเรียบ 471 km (293 mi)  Hippolyte Aucouturier (FRA)  Maurice Garin (FRA)
ผลการแข่งขันประเภท General classification ก่อนการตัดสิทธิ์ [20]
ลำดับ รายชื่อ เวลา
1  Maurice Garin (FRA) 93h 06' 24"
2  Lucien Pothier (FRA) +6' 28"
3  César Garin (FRA) +1h 51' 03"
4  Hippolyte Aucouturier (FRA) +2h 52' 26"
5  Henri Cornet (FRA) +2h 59' 27"
6  Jean-Baptiste Dortignacq (FRA) +5h 15' 36"
7  Philippe Jousselin (FRA) +8h 33' 42"
8  Aloïs Catteau (BEL) +12h 00' 56"
9  Camille Fily (FRA) +15h 36' 42"
10  Jean Dargassies (FRA) +16h 04' 01"

การตัดสิทธิ์[แก้]

A black-and-white photograph of a young man with a cap.
Henri Cornet, the winner of the 1904 Tour de France after the original top four finishers had been disqualified.

During the race, nine riders were excluded because of, among other actions, illegal use of cars or trains. The Tour organizers were happy with the result, but the Union Vélocipédique Française (UVF) started an investigation after complaints from other cyclists. Their investigative committee heard testimony from dozens of competitors and witnesses, and, in December 1904, disqualified all the stage winners and the first four finishers (Maurice Garin, Pothier, César Garin, and Aucouturier). Ten of those disqualified were banned for one year, Garin for two years and the remaining two for life.[1] In total, 29 riders were punished.[4] The reasons for the disqualification were never made public.[21]

Fifth-placed Henri Cornet, aged 19, then became the youngest ever winner of the Tour.[22] Cornet had also been warned after he had received a lift by a car.[4] Only 15 cyclists from the original 27 that finished were not disqualified.[23]

Following the disqualifications, the Tour de France came nearest in history to being permanently cancelled.[24] The race organiser Henri Desgrange, said he would never run the race again because it had been overtaken by the "blind emotions" of those who attacked or helped riders as they passed. Desgrange was also upset that the UVF had imposed judgement on his race when he had already disciplined riders as he saw fit.

An angry exchange ensued between Desgrange and the UVF but the letters and the detailed complaints that led to the UVF's actions were lost when the Tour de France archives were transported south in 1940 to avoid the German invasion and were never seen again.[23]

Until the end of his life, Garin always said that he was the rightful winner of the 1904 Tour de France, but according to Les Woodland, Garin confessed to a friend that he had cheated.[4]

ผลการแข่งขันสุดท้าย[แก้]

ภายหลังการตัดสิทธิ์การแข่งขัน นักปั่นสี่รายแรกที่เป็นผู้ชนะถูกตัดสิทธิ์ออกไป จึงทำให้ในการจัดอันดับใหม่ มีนักปั่นเพียง 15 รายที่นับว่าแข่งขันจนจบรายการ [20]

ผลการแข่งขันในแต่ละสเตจภายหลังการตัดสิทธิ์ [3]
สเตจ วันที่ เส้นทาง ภูมิศาสตร์ ระยะทาง ผู้ชนะ ผู้นำ
1 2 กรกฎาคม MontgeronLyon Plain stage ทางเรียบ 467 km (290 mi)  Michel Frédérick (SUI)  Michel Frédérick (SUI)
2 9 กรกฎาคม Lyon–Marseille Stage with mountain สเตจที่มีภูเขา 374 km (232 mi)  Antoine Fauré (FRA)  Emile Lombard (BEL)
3 13 กรกฎาคม Marseille–Toulouse Plain stage ทางเรียบ 424 km (263 mi)  Henri Cornet (FRA)  Henri Cornet (FRA)
4 17 กรกฎาคม Toulouse–Bordeaux Plain stage ทางเรียบ 268 km (167 mi)  François Beaugendre (FRA)  François Beaugendre (FRA)
5 20 กรกฎาคม Bordeaux–Nantes Plain stage ทางเรียบ 425 km (264 mi)  Jean-Baptiste Dortignacq (FRA)  Henri Cornet (FRA)
6 23 กรกฎาคม Nantes–Paris Plain stage ทางเรียบ 471 km (293 mi)  Jean-Baptiste Dortignacq (FRA)  Henri Cornet (FRA)
ผลการแข่งขันประเภท General classification ภายหลังการตัดสิทธิ์ (1–10)[3]
ลำดับ รายชื่อ เวลา
1  Henri Cornet (FRA) 96h 05' 55"
2  Jean-Baptiste Dortignacq (FRA) +2h 16' 14"
3  Aloïs Catteau (BEL) +9h 01' 25"
4  Jean Dargassies (FRA) +13h 04' 30"
5  Julien Maitron (FRA) +19h 06' 15"
6  Auguste Daumain (FRA) +22h 44' 36"
7  Louis Coolsaet (BEL) +23h 44' 20"
8  Achille Colas (FRA) +25h 09' 50"
9  René Saget (FRA) +25h 55' 16"
10  Gustave Drioul (BEL) +30h 54' 49"

หลังการแข่งขัน[แก้]

เนื่องจากการแข่งขันในปีนี้เกิดเรื่องอื้อฉา Desgrange จึงต้องการยุติการแข่งขัน แต่เขาก็เปลี่ยนใจในภายหลัง และได้เปลี่ยนกฎการแข่งขันเพื่อป้องกันการโกงของผู้เข้าแข่งขัน โดยการแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905) จะพิจารณาผลการแข่งขันโดยใช้ระบบนับแต้ม สำหรับ Cornet ซึ่งเป็นผู้ชนะการแข่งขันจักรยานทางไกลตูร์เดอฟร็องส์ ประจำปี พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) ก็ได้เข้าแข่งขันรายการนี้อีก 7 ครั้ง แต่ไม่ได้เป็นผู้เข้าแข่งขันที่มีบทบาทสำคัญใด ๆ กับการแข่งขันอีกเลย [25]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "No centenary party for 1904 Tour of shame". Reuters. 8 กรกฎาคม 2004. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 พฤษภาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2009.
  2. "The Tour – Year 1904". Amaury Sport Organisation. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2009.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 "2ème Tour de France 1904" (ภาษาฝรั่งเศส). Memoire du cyclisme. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 พฤษภาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2009.
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 4.10 McGann, Bill; McGann, Carol (2006). The Story of the Tour de France. Dog Ear Publishing. pp. 10–13. ISBN 1-59858-180-5. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2009.
  5. "Tour de France Trivia". สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2012.
  6. Thompson, Christopher S. (2006). The Tour de France: a cultural history. University of California Press. p. 152. ISBN 0-520-24760-4.
  7. "Vélocipédie". Le Petit journal (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 3 กรกฎาคม 1904. p. 4. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  8. "Vélocipédie". Le Petit journal (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 4 กรกฎาคม 1904. p. 4. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  9. "Vélocipédie – coureurs punis". Le Petit journal (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 6 กรกฎาคม 1904. p. 4. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  10. "Vélocipédie – Le le Tour de France". Le Petit journal (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 10 กรกฎาคม 1904. p. 4. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  11. "1904: Henri Cornet wint na diskwalificatie van winnaars" (ภาษาดัตช์). tourdefrance.nl. 19 มีนาคม 2003. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 พฤษภาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2009.
  12. "Le Tour de France". Le Petit Parisien (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 10 กรกฎาคม 1904. p. 5. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  13. 13.0 13.1 "Vélocipédie – Le Tour de France". Le Petit journal (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 11 กรกฎาคม 1904. p. 5. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  14. "2ème Tour de France 1904 – 2ème étape" (ภาษาฝรั่งเศส). Memoire du cyclisme. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2010.
  15. "Le Tour de France". Le Petit journal (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 15 กรกฎาคม 1904. p. 4. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  16. "Le Tour de France". Le Petit Parisien (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 15 กรกฎาคม 1904. p. 5. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  17. "Vélocipédie – Le Tour de France". Le Petit Parisien (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 17 กรกฎาคม 1904. p. 5. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  18. "Le Tour de France – La fin de la cinquième étape". Le Petit journal (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 22 กรกฎาคม 1904. p. 3. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  19. "Vélocipédie – Le Tour de France". Le Figaro (ภาษาฝรั่งเศส). Gallica Bibliothèque Numérique. 25 กรกฎาคม 1904. p. 6. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2010.
  20. 20.0 20.1 20.2 20.3 James, Tom (4 เมษายน 2001). "The Tour is finished..." VeloArchive. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 พฤษภาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2009.
  21. Abt, Samuel (5 มีนาคม 2008). "Tour's early scandal still a mystery". International Herald Tribune. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2009.
  22. "Tour records and winners". BBC. 30 มิถุนายน 2000. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2009.
  23. 23.0 23.1 Pelkey, Charles (3 ธันวาคม 2008). "The Explainer – Disqualified!". VeloNews. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2009.
  24. Thomazeau, François (29 กรกฎาคม 2007). "Plus ça change... they started cheating in 1904". Guardian. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2009.
  25. "Past results for Henri Cornet (FRA)". ASO. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 พฤษภาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2009.

อ่านเพิ่มเติม[แก้]

  • Seray, Jacques (1999). 1904: The Tour de France Which Was to Be the Last. Ann Arbor Press. ISBN 0-9649835-2-4.

แม่แบบ:Tour de France