ผู้ใช้:Saowa

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว(floating exchange rate system )เป็นระบบที่ปล่อยให้เรทอัตราแลกเปลี่ยน ขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศตามตลาดแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศ สามารถเรียกว่าระบบนี้ได้ว่า Float SystemหรือFloatก็ได้

คำอธิบาย หลังสงครามโลก ได้มีการใช้แบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่มาตลอด โดยเรียกสมัยนี้ว่าว่าBretton Woods System ในวันที่15 สิงหาคม 1971 ประธานาธิบดี ริชาร์ด นิกสันของสหรัฐ ซึ่งขณะนั้นสหรัฐชนะสงครามโลกครั้งที่2 ขึ้นเป็นผู้นำของโลกตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ก็มีอำนาจอย่างล้นเหลือ ได้ประกาศยกเลิกการผูกเงินดอลล่าไว้กับทอง เพื่อป้องกันสกุลเงินดอลล่าของประเทศตนล้มเหลว ผลในครั้งนั้นทำให้ เงินตราระหว่างประเทศของหลายประเทศถูกปรับเปลี่ยนในเดือนธันวาคม 1971(ทอง 1 ออนซ์=35ดอลล่าห์→38ดอลล่าห์,1ดอลล่าห์=360เยน→ลดลงมาที่308เยน)และสามารถรักษาระบบแลกเปลี่ยนเงินตราคงที่ไว้ได้ แต่ทว่าความพยายามแก้ไขวิกฤตในครั้งนั้นภายใต้ข้อตกลงสมิทโซเนียนก็อยู่ได้ไม่นาน ในเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม 1973 ประเทศที่พัฒนาแล้วทั้งหมดรวมทั้งประเทศญี่ปุ่น ก็พากันเปลี่ยนมาใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว

อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว ได้ถูกรับรองให้ใช้ได้ในที่ประชุมคณะกรรมการIMFที่จัดขึ้นที่จาไมก้า ในเดือนมกราคม 1976 โดยเรียกข้อตกลงนี้ว่า ข้อตกลงจาไมก้า

ลักษณะพิเศษ ในกรณีที่ประเทศเล็กๆทำการค้าระหว่างประเทศ(Open Economy)โดยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว จะทำให้นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)ไม่มีบทบาท และนโยบายการเงิน(Monetary Policy)ขึ้นมามีบทบาทขึ้นแทน ตามที่ได้ถูกกล่าวไว้ในภาควิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค(Macro Economics)

นโยบายการคลัง ในกรณีที่ประเทศที่ทำการค้าแบบปิดประเทศ(Closed Economy)จะแก้ปัญหาเรื่องรายรับของประชาชน โดยการกระตุ้นรายจ่ายของภาครัฐ จะทำให้รายรับของประชากรเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันดอกเบี้ยก็จะสูงตามไปด้วย แต่ทว่า ในกรณีที่เป็นประเทศแบบทำการค้าระหว่างประเทศหรือเปิดประเทศ ต้องการให้ดอกเบี้ยของประเทศเล็กๆสูงกว่าดอกเบี้ยที่อ้างอิงตามหลักมาตรฐานสากล เงินทุนต่างประเทศจะทำการซื้อเงินตราของประเทศเล็กๆ ในระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว เมื่อมีเงินทุนต่างประเทศไหลเข้ามา ไม่ได้ช่วยทำให้Money Supplyภายในประเทศเพิ่มขึ้น เพียงแต่ทำให้ค่าเงินแพงขึ้นเท่านั้น จากข้อคิดเห็นของคนทั่วไปที่มีความคิดว่า จากการที่มีเงินทุนต่างประเทศไหลเข้ามาจะทำให้เกิดเศรษฐกิจฟองสบู่ได้ ที่จริงแล้วMoney Supplyก็ไม่ได้เพิ่มขึ้น แต่เป็นการชะลอเศรษฐกิจจากการที่ค่าเงินแพงขึ้น เมื่อค่าเงินแพง การส่งออกสุทธิ(ส่งออกสุทธิ-นำเข้าสุทธิ)ลดลง รายรับประชากรก็ลดลง ดอกเบี้ยก็จะลดลง ดอกเบี้ยก็จะลดลงมาจนกว่าจะเท่ากับดอกเบี้ยที่อ้างอิงตามมาตรฐานสากล และจะมาหักล้างกับรายจ่ายการคลัง100% นอกจากนี้ ในขั้นตอนที่นโยบายการคลังนี้ถูกหักล้างก็จะลดบทบาทลง 財政政策[編集]閉鎖経済体制の国が国民所得を改善しようと財政支出を増加させた場合、国民所得が増加すると同時に金利が上昇する。しかし、開放経済体制の場合は、小国の金利が世界基準金利を上回るために、国際資本が小国の通貨を買うことになる[13]。変動相場制においては、国際資本の流入は国内のマネーサプライの増加をもたらさず、通貨高をもたらすのみである[13]。国際資本の流入によってバブルが発生するという通説のイメージからは違和感を受けるが、マネーサプライも増加せずかつ通貨高によって景気に減速圧力が掛かるのである。この通貨高により純輸出(総輸出-総輸入)が減少し国民所得が減少し、金利が低下する。金利は世界基準金利に一致するまで低下し、財政支出の効果を100%相殺する。なお、この財政政策が相殺され無効となるプロセスにおいては、金利上昇を打ち消すように海外からの国際資本の流入が起こるため、金利上昇自体は観察されないことに注意が必要である(観察されるのは通貨高である)。すなわち、金利上昇が見られないことを以てして、財政政策は無効でなかった、あるいは国際マクロ経済学のモデルは成立していない、と言うことは誤りである。

金融政策[編集]閉鎖経済体制の国が国民所得を改善しようと金融緩和を行った場合、国民所得・マネーサプライが増加すると同時に金利が低下する[13]。さらに、開放経済体制の場合は、小国の金利が世界基準金利を下回るために、国際資本が小国の通貨を売ることになる。変動相場制においては、国際資本の流出は国内のマネーサプライの減少をもたらさず、通貨安をもたらす[13]。この通貨安により純輸出(総輸出-総輸入)が増加し国民所得が増加し、金利が上昇する。金利は世界基準金利に一致するまで上昇し、金融政策の効果をさらに高める。